720 likes | 1.18k Vues
สถิติเชิงพรรณนา ที่ใช้ในงานระบาดวิทยา. น.ต.นพ.วารินทร์ ปงกันคำ ร.น. แผนกนระบาดศาสตร์ กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ SRRT – Bangkok 29.06.10 / 05.07.10. นิยามของระบาดวิทยา.
E N D
สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในงานระบาดวิทยาสถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในงานระบาดวิทยา น.ต.นพ.วารินทร์ ปงกันคำ ร.น. แผนกนระบาดศาสตร์ กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ SRRT – Bangkok 29.06.10 / 05.07.10
นิยามของระบาดวิทยา การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค/สภาวะสุขภาพในประชากรที่สนใจ และประยุกต์ผลการศึกษาเพื่อใช้ในการควบคุมโรค “The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations and the application of this study to control of health problems” John M Last: A dictionary of Epidemiology, ed 2nd. New York, Oxford University Press, 1988
เวลา (Time) สาเหตุ(Cause) การกระจายของโรค บุคคล (Person) สถานที่ (Place) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโรค ปัจจัยเสี่ยง(Risk factor) ระบาดวิทยาศึกษาอะไร ระบาดวิทยา
Cases Person Place Time ประเมินสถานการณ์จากข้อมูลระบาดวิทยา Pathogen? Source? Transmission? ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่รวบรวมได้ การกระจายของโรค
ขั้นตอนการสอบสวนโรค • เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม • ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค • ตรวจสอบยืนยันการระบาด • กำหนดนิยามผู้ป่วยเพื่อค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม • ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา - เวลา สถานที่ บุคคล • สร้างสมมุติฐานการเกิดโรค • ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ -เพื่อทดสอบสมมุติฐาน • ทำการศึกษาเพิ่มเติม (สิ่งแวดล้อม & ส่ง Lab) • ควบคุมและป้องกันโรค • นำเสนอผลการสอบสวน
Investigating an OutbreakDescriptive Epidemiology • Time • Epidemic Curve • Place • Spot Map, Area Map • Person • Rates, Frequency Distribution
TIME Epidemic Curve
Epidemic Curveเส้นโค้งการระบาด นพ.เฉวตสรร นามวาท สำนักระบาดวิทยา
Epidemic Curveเส้นโค้งการระบาด = 1 ราย แกนนอน ความกว้างของแต่ละช่วง เท่ากับ 1/8 – 1/3 ของระยะฟักตัว (นิยมใช้ประมาณ ¼)
Index case Point Source Outbreak
25 20 15 จำนวน (Cases) 10 5 0 15 22 29 5 12 19 26 3 10 17 24 31 7 14 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ต.ค. 2539 2540 วันเริ่มป่วย (Date of Onset) Propagated Source Outbreakจำนวนผู้ป่วยโรคหัด ตำบลมหาสนุก 15 ตุลาคม 2539 - 16 มกราคม 2540
ระยะฟักตัวที่ยาวที่สุดระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด Maximum IP* ระยะฟักตัวเฉลี่ย Average IP* ระยะฟักตัว ที่สั้นที่สุด Minimum IP* ระยะเวลาได้รับเชื้อ Exposure period การคาดประมาณเวลาสัมผัสเชื้อ จุดสูงสุดของการระบาด
โจทย์การระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบ เอ ก.ย. ต.ค. พ.ย.
Exercise Epidemic Curve
การระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบ เอ • จงแปลผลในประเด็นต่อไปนี้ • เวลา • ขนาดของการระบาด • Outliers • รูปแบบของการระบาด • ระยะเวลาสัมผัสเชื้อ ก.ย. ต.ค. พ.ย.
เวลา จุดสูงสุดของการระบาด Peak of Outbreak ผป.รายแรก First cases ผป.รายสุดท้าย Last cases ก.ย. ต.ค. พ.ย.
ขนาดของการระบาด = 1 ราย รวมทั้งสิ้น = 49 ราย ก.ย. ต.ค. พ.ย.
Outliers ไม่มีผู้ป่วยในช่วง 1 ระยะฟักตัว ก่อนผู้ป่วยส่วนใหญ่ ที่อาจจะบอกแหล่ง แพร่เชื้อหรือสาเหตุ การระบาด ไม่มีผู้ป่วยในช่วง 1 ระยะฟักตัว หลังผู้ป่วยส่วนใหญ่ ที่แสดงถึงการระบาด ระลอกที่สอง ก.ย. ต.ค. พ.ย.
รูปแบบของการระบาด 1 ระยะฟักตัว 28-30 วัน จำนวนผู้ป่วย เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และลดลงช้า ๆ ก.ย. ต.ค. พ.ย.
คาดประมาณเวลาที่สัมผัสเชื้อคาดประมาณเวลาที่สัมผัสเชื้อ ระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด Maximum IP* ระยะฟักตัวเฉลี่ย Average IP* ระยะฟักตัว ที่สั้นที่สุด Minimum IP* ต.ค. พ.ย. คาดประมาณเวลาที่ได้รับเชื้อ Exposure period
Exercise 6.4 (P.369) Hepatitis A Outbreak
Exercise 6.4 (P.369) • Using the data from a hepatitis A outbreak, draw an epidemic curve. From your epidemic curve and your knowledge of the average and minimum incubation periods for hepatitis A, identify the likely exposure period.
Common Source Outbreak • Exposure occurred between April 9 and April 13. Using the data from a hepatitis A outbreak, draw an epidemic curve. From your epidemic curve and your knowledge of the average and minimum incubation periods for hepatitis A, identify the likely exposure period. Answer Exercise 6.4 (P.369)
PLACE Spot Map, Area Map
แผนที่แสดงการตายด้วยอหิวาตกโรคกรุงลอนดอน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2397 (1854) John Snow, M.D.(1813 -1858) ผู้ป่วยเสียชีวิต 500 รายในเวลา 10 วัน แต่ภายในเวลา 1 สัปดาห์หลังจากถอนหัวจ่ายน้ำ การระบาดลดลง
Spot map of facial palsy cases in Thawangpha district, Thailand, 1 Jan - 22 Sep 1999 Thawangpha district River case Tumbol border
Weekly interval 1 child case 1 officer case Epidemic curve and spot mapkindergarten “A”May – September 1999 (N = 38) NS 1 1 / 1 1 / 2 3 / 2 3 / 1 NS 2 2 / 1 2 / 2 Kit.
17th HIV Sentinel Serosurveillance-ANC,1999 %HIV seropositive 0.4-1 >1-2 >2-3 >3-6
PERSION Rates, Frequency Distribution
Person • Host Characteristics • Age, Race, Sex or Medical Status • Exposures • Occupation, Leisure Activities, Use of Medications, Tobacco, Drugs
การวัดทางระบาดวิทยา • การวัดการเกิดโรคในชุมชน (Measure of disease frequency); Prevalence (ควาชุก), Incidence (อุบัติการณ์) • การวัดเพื่อหาความสัมพันธ์ (Measure of association); Odds ratio, Risk ratio, Prevalence rate ratio • การวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชน (Measure of impact); Attributable risk, PAR
Frequency Distribution • Exercise 2.1 Listed below are data on parity collected from 19 women who participated in a study on reproductive health. Organize these data into a frequency distribution. 0, 2, 0, 0, 1, 3, 1, 4, 1,8, 2, 2, 0, 1, 3, 5, 1, 7,2
Microsoft Excel Pivot Table
Introduction to Frequency Measure • Ratios อัตราส่วน • Proportions สัดส่วน • Rates อัตรา
Ratios -อัตราส่วน • การเปรียบเทียบเลขตัวตั้ง (จำนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกลุ่มประชากรที่ศึกษา) กับตัวหาร (จำนวนผู้ที่ไม่ได้ประสบเหตุการณ์นั้นๆ) • การเปรียบเทียบระหว่างประชากรกลุ่มหนึ่ง(a)กับประชากรอีกกลุ่มหนึ่ง (b) • อัตราส่วนมีค่า > 0, และอาจจะมีหรือไม่มีหน่วย • อัตราส่วน a / b => a : b
Proportions - สัดส่วน • เหตุการณ์ที่สนใจ (a)พบเป็นสัดส่วนเท่าใดต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด (a+b+c+d+…) • a เป็นส่วนหนึ่งใน b