1 / 116

“ ท่านๆไม่สามารถบริหารงานใดๆได้ ถ้าท่านไม่สามารถวัดผลงานได้

“ ท่านๆไม่สามารถบริหารงานใดๆได้ ถ้าท่านไม่สามารถวัดผลงานได้. ท่านไม่สามารถวัดผลงานได้ ถ้าท่านไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งที่ต้องทำนั้นคืออะไร. ท่านไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งที่ต้องทำนั้นคืออะไร ถ้าท่านไม่เข้าใจ. และท่านไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ ถ้าท่านไม่บริหาร ”. ระบบบริหารคุณภาพ. ISO 9001:2000.

camdyn
Télécharger la présentation

“ ท่านๆไม่สามารถบริหารงานใดๆได้ ถ้าท่านไม่สามารถวัดผลงานได้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ท่านๆไม่สามารถบริหารงานใดๆได้ ถ้าท่านไม่สามารถวัดผลงานได้ ท่านไม่สามารถวัดผลงานได้ถ้าท่านไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งที่ต้องทำนั้นคืออะไร..... ท่านไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งที่ต้องทำนั้นคืออะไร ถ้าท่านไม่เข้าใจ.......... และท่านไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ถ้าท่านไม่บริหาร ”

  2. ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000

  3. หัวข้อการนำเสนอ ๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 ๒. ข้อกำหนดและการจัดทำเอกสารระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 ๓. การตรวจติดตามภายใน (IQA)

  4. ๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000

  5. ISO9001:2000 ISO หมายถึง ระบบการบริหารองค์กรรูปแบบหนึ่ง โดยใช้การจัดการ คุณภาพแบบสั่งการจากเบื้องบน โดยเน้นความพึงพอใจ ของลูกค้าเป็นสำคัญ

  6. ปรัชญา ISO 9001:2000 ทำไปทำไม ? ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ วัดผลงานอย่างไรถ้าไม่ได้ตามผลงานที่ตั้งไว้ต้องทำอะไร ? แก้ไข/ป้องกัน แต่ถ้าได้ตามผลงานแล้วจะพัฒนาอย่างไร ? พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  7. ISO- เป็นยาวิเศษหรือยาหม้อใหญ่ ที่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในองค์กร ให้ประสบผลสำเร็จได้ทุกเรื่องจริงหรือ ?- หรือเป็นเพียงเครื่องมือของผู้บริหารระบบหนึ่งในอีกหลายๆระบบ ที่ใช้แก้ไขปัญหาขององค์กรให้ประสบผลสำเร็จ รถคันนี้จะไปถึงเป้าหมายได้ จะต้องอาศัยองค์ประกอบใดบ้าง ? QMR TARGET ISO WAY

  8. พัฒนาการระบบ ISO 9000 ISO (International Organization for Standardization)เป็นภาษากรีก แปลว่า “ เท่าเทียมกัน ” หมายถึงการสร้างความเท่าเทียมกันของกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กรให้เกิดความสม่ำเสมอและคงเส้นคงวา ISO 9OOOพัฒนามาจากการรับรองคุณภาพองค์กร BS 5750 และถูกนำมาเผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 ฉบับที่ 1 ระบบ 9000:1987 ฉบับที่ 2 ระบบ 9000:1994 ฉบับที่ 3 ระบบ 9000:2000 (แต่ใบรับรอง 9001:2000) (DEC 15 2000) จะมีการทบทวนข้อกำหนด ทุกๆ 5 ปี NEW ISO ประยุกต์ได้กับทุกองค์กร สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวาสวิสเซอร์แลนด์

  9. ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือความล้มเหลวปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือความล้มเหลว EFQM Business Excellence Model (The European Foundation for Quality Management) กระบวนการทำงาน 14 % ( WP , WI ) การบริหารบุคคล 9 % (POSDCoRB) ความพอใจของพนักงาน 9 % ความพอใจของลูกค้า 20 % นโยบาย & กลยุทธ์ 8 % (นโยบายคุณภาพ ,วัตถุประสงค์คุณภาพ, แผนคุณภาพ) ความเป็นผู้นำ 10 % ผลทางธุรกิจ 15 % ผลกระทบต่อสังคม 6 % ทรัพยากร 9 % ผลงาน 50 % ปัจจัยที่ทำให้เกิดผล 50 %

  10. คุณสมบัติ 10 ประการของ QMR มีบารมี มีตำแหน่งสูง เป็นนักประชาสัมพันธ์ เป็นที่ยอมรับของทุกคน รู้เรื่อง ISO ดีกว่าคนอื่นๆในองค์กร ต้องเก่งคน เก่งคิด เก่งเรียน เก่งทำ คุณสมบัติของ QMR เก่งบริหารงาน มีความสามารถผลักดัน จูงใจ ให้การนำ ระบบ ISO บรรลุสู่ความสำเร็จได้ดี มีทัศนคติที่ดีด้านคุณภาพ เป็นผู้นำ ต้องไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคในทุกรูปแบบ

  11. ตระกูล ISO ที่ควรทราบ • ระบบบริหารงานคุณภาพ(QMS) มอก. ISO 9001:2000 • ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม(EMS) มอก. ISO 14001 • ระบบการจัดการอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย มอก. TIS 18001 • ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร (Hazard analysis and critical control point) HACCP • ระบบการจัดการสุขลักษณะที่ดีในสถานประกอบการ (Good Manufacturing Practice) GMP • ระบบการจัดการมาตรฐานสำนักงานสำหรับห้องปฏิบัติการISO 13000 /IEC Guide 25 (เป็นเฉพาะแนวทาง ไม่ระบุข้อกำหนด แต่ ณ ปัจจุบันเปลี่ยนจาก ISO 13000 /IEC Guide 25 เป็น มอก. ISO /IEC 17025 ซึ่งระบุข้อกำหนดเกี่ยวกับการบริหารไว้ในข้อที่ ๔ และข้อกำหนดเกี่ยวกับ ความสามารถทางวิชาการสำหรับการทดสอบและ/หรือสอบเทียบของห้องปฏิบัติการไว้ในข้อ ๕) • ระบบการรับรองสถานพยาบาล (Hospital Accreditation)HA (อดีตเป็น ISO 9002:1994 งานบริการ แต่ปัจจุบันรวมอยู่ใน ISO 9001:2000)

  12. ทำไมต้องทำ ISO เพราะ 1. ผู้บังคับบัญชามีนโยบายให้จัดทำ ทั้งนี้เพื่อยกระดับมาตรฐานการซ่อมบำรุงให้ก้าวเข้าสู่มาตรฐานสากล 2. ปัญหาที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน มักเป็นปัญหาเดิมๆแก้ไม่หายซักที 3. นโยบายการบริหารงาน ยังไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่เป็นรูปธรรมชัดเจน และประเมินผลได้ 4. งานบางอย่างก็ทำกันซ้ำๆซ้อนๆ แต่บางอย่างก็ไม่รู้ว่าใครรับผิดชอบกันแน่ 5. ทรัพยากรต่างๆที่จำเป็น ทั้งบุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน และสภาพแวดล้อม ก็ไม่เพียงพอต่อความต้องการ 6. การปฏิบัติภารกิจการซ่อมบำรุงและส่งกำลังบำรุง เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจหน่วยผู้ใช้งานยังไม่ทันกับความต้องการ 7. อื่นๆ

  13. ประโยชน์ของการนำระบบ ISO มาปฏิบัติในองค์กร ประโยชน์ต่อองค์กร ๑. พัฒนาการจัดองค์กร พัฒนาการบริหารงาน พัฒนากระบวนการซ่อมบำรุง รวมถึงการพัฒนาการบริการ ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องมากยิ่งขึ้น ๒. ทำให้อากาศยานและบริภัณฑ์ฯที่ได้รับ ISO เป็นที่น่าเชื่อถือและยอมรับ และมั่นใจมากยิ่งขึ้นในภาคราชการและ ภาคธุรกิจเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๓. ทำให้ภาพพจน์ขององค์กรดีขึ้น เป็นที่ยอมรับว่ามีระบบการบริหารที่ได้มาตรฐานระดับโลก ๔. ประหยัดงบประมาณในการดำเนินงานในระยะยาว เมื่อการทำงานมีระบบมากขึ้น มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ของเสียน้อยลง ประโยชน์ต่อข้าราชการ ๑. ทำให้ข้าราชการเกิดความภาคถูมิใจ ต่อความรู้สึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน และการเป็นเจ้าของ ๒. ทำให้ข้าราชการทำงานได้สบายขึ้น เมื่อมีการทำงานที่เป็นระบบ ๓ ทำให้ข้าราชการ มีจิตสำนึกในเรื่องคุณภาพมากขึ้น ความสูญเสียในการซ่อมบำรุงและการบริการน้อยลง ๔. การทำงานมีขอบเขตที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ๕. เป็นการพัฒนาการทำงานเป็นทีม สามารถรองรับงานแทนกันได้

  14. ประโยชน์ของการนำระบบ ISO มาปฏิบัติในองค์กร ประโยชน์ต่อหน่วยผู้ใช้งาน ๑. ทำให้มีความมั่นใจในผลผลิตและการบริการมากขึ้น ๒. ได้รับการคุ้มครองในด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และการใช้งาน ๓. ในบางกรณีหน่วยผู้ใช้งานไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ซ้ำอีก ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และสะดวกขึ้น ประโยชน์ในการบริหารงาน ๑. มีการกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละบุคลที่ชัดเจน ๒. ข้าราชการรู้หน้าที่ของตนเอง ๓. ข้าราชการรู้รายละเอียดของงานที่ทำอยู่ มีการฝึกการปฏิบัติ และการฝึกอบรม ๔. ความผิดพลาดในการทำงานน้อยลง ๕. มีความต่อเนื่องของงาน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือโยกย้าย ๖. มีความสม่ำเสมอในด้านคุณภาพของสินค้า และการบริการ ๗. มีการแก้ไข ปรับปรุง และป้องกันไม่ให้ปัญหาเก่าๆ เกิดขึ้นซ้ำอีก ๘. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากขึ้น

  15. วิวัฒนาการของคุณภาพ ๕.การรับประกันคุณภาพโดยรวม (TQA) ๔.การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) ๓.การประกันคุณภาพระบบบริหารทั้งองค์กร (QA) ๒.การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ (QC) ๑.การตรวจสอบผลิตภัณฑ์(QI) การคัดเลือกผลิตภัณฑ์ที่ดีจากผลิตภัณฑ์ที่เลว

  16. แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ กำหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ (KPI ข้อกำหนดผลิตภัณฑ์,ระบบบริหาร) สร้างกระบวนการวัด วัดและนำผลที่วัดไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพ ปรับปรุงพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพ(QI) ผล แก้ไขและป้องกัน ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ คุณภาพ - ผลิตภัณฑ์ - คน - วัสดุอุปกรณ์ - โครงสร้างพื้นฐาน - สภาพแวดล้อม - ระบบการบริหารงาน รับประกันคุณภาพ(QA)

  17. วงจรการแกัไขโดยใช้ข้อมูลย้อนกลับวงจรการแกัไขโดยใช้ข้อมูลย้อนกลับ Resource Resource Resource ลูกค้า ลูกค้า O/P I/P O/P I/P O/P I/P Process A Process B Process C มาตรฐานของงาน วัดผลงานจริง เปรียบเทียบระหว่าง ผลงานกับมาตรฐาน ชี้ให้เห็น ความแตกต่าง การแก้ไข ปฏิบัติการ แก้ไข จัดโครงการ แก้ไข วิเคราะห์สาเหตุ ของความแตกต่าง

  18. การแก้ไขโดยใช้ข้อมูลในอนาคตเพื่อทำนายแนวโน้มในอนาคตการแก้ไขโดยใช้ข้อมูลในอนาคตเพื่อทำนายแนวโน้มในอนาคต เกณฑ์มาตรฐาน ทรัพยากร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการผลิต/ซ่อม/บริการ ผลผลิต การพยากรณ์ ข้อมูลย้อนกลับ ข้อมูลและข่าวสาร ปฏิบัติการแก้ไข

  19. ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินงานความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินงาน ถ้าระบบต่างๆในองค์กร และเมื่อบริหารโดยเน้น ทำสิ่งที่ถูกต้องใน 1. เวลาที่ต้องการ 2. จำนวนที่ต้องการ ประสิทธิผล (Effectiveness) คุณภาพในการทำงาน & Innovation มันก็ควรที่จะ มันก็ควรที่จะ ทำในทางที่ถูกต้องด้วย 1. ทรัพยากรในจำนวนน้อยที่สุด ไม่เกิดการเสียหาย 2. ขั้นตอนที่ถูกต้อง ไม่มีผิดพลาด การดำเนินงานอย่างได้ผล (Productiveness) สามารถทำกำไรได้/ ทำให้อยู่ในงบได้ ประสิทธิภาพ (Efficiency) เพื่อนำไปสู่ ควบคุมคุณภาพ ในทุกจุด คุณภาพ (Quality) ความดีเลิศ ความอยู่รอด เติบโต

  20. ความแตกต่างระหว่างประสิทธิภาพ & ประสิทธิผล ปัจจัยนำเข้า (In put) ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Outcome) หรือความพึงพอใจ ของลูกค้า วัตถุประสงค์ (Objective) ความต้อการของลูกค้า กระบวนการผลิต/ซ่อม/บริการ (Process) ผลผลิต (Out put) ทรัพยากร (Resource) 1. คน 2. วัสดุอุปกรณ์/เครื่องมือ 3.สภาพแวดล้อม การทำงาน ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)

  21. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารอำนาจหน้าที่ของผู้บริหาร กำหนดนโยบาย ผู้บริหารระดับสูง จก.ชอ กำหนดแนวทางปฏิบัติ ผู้บริหารระดับกลาง ผอ.กอง อำนาจสั่งการ รับผิดชอบต่อ ควบคุม - แนะนำ ผู้บริหารระดับต้น หน.มว. - หน.แผนก พนักงาน ลูกจ้าง - พ.อ.อ. ปฏิบัติงาน

  22. ทักษะของผู้บริหาร ผู้บริหารระดับสูง ทักษะด้านความคิด (Conceptual skill) ผู้บริหารระดับกลาง ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human skill) ทักษะด้านเทคนิค (Technical skill) ผู้บริหารระดับต้น

  23. การวัดผลโครงการต่างๆ ภารกิจ (Mission) เราจะไปที่ไหนกัน ? เป้าหมาย (Goals) เราจะไปถึงที่นั่นได้อย่างไร ? วิสัยทัศน์ (Vision) วัตถุประสงค์ (Objective) แล้วเราจะต้องทำอะไรบ้าง ? กลยุทธ์ (วิธีการ-จัดหาทรัพยากร) กรอบการวัดผล Critical Success Factor แผน (รายละเอียดสิ่งจะต้องทำในอนาคตมีอะไรบ้าง) การปฏิบัติงานตามแผน (แสดงขั้นตอนต่างๆของแผนที่จะนำไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ Outcome) Key Performance Indicator

  24. Process Net Work Resources Input Output Process B Resources Resources P D Input Output C A Input Output Process A Process D P D P D A C Resources A C ลู ก ค้ า Output ลู ก ค้ า Process C Input D P C A Resources Resources Input Output Input Output Process E Process F P D P D A C A C

  25. P - D – C – A Cycle การพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ (Develop QMS) Plan P - การแก้ไข (Corrective) การประยุกต์ใช้ (Implement) A D - การป้องกัน (Preventive) - การปรับปรุง (Improvement) Action DO C Check การเฝ้าติดตามและการวัด (Monitoring and Measurement)

  26. คำนิยาม - Product(ผลิตภัณฑ์) หมายถึง อากาศยาน/บริภัณฑ์/ พัสดุ รวมถึง “ การบริการ ” ด้วย • Customer(ลูกค้า) หมายถึง ผู้รับผลิตภัณฑ์(รวมบริการด้วย) ที่ถูกจัดเตรียมโดยผู้ส่งมอบ แบ่งเป็น ๒ แบบคือ • ลูกค้าทั่วไป(หน่วยผู้ใช้งาน หรือ ผู้บริโภคสินค้า(Enuser) กับลูกค้าที่มีข้อตกลง/สัญญา(Out source) • Out source (แหล่งภายนอก) หมายถึง กระบวนการใดๆก็ตามที่องค์กรใช้แหล่งภายนอกทำแทนให้ และเป็น • กระบวนการที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์หรือการบริการ ต้องกำหนดวิธีการควบคุม - Shall หมายถึง สิ่งที่องค์กร “ต้อง” ปฏิบัติในด้าน “ระบบบริหารงาน” ให้เกิดคุณภาพทุกๆจุดให้ครบครบ ๑๓๘ ต้อง โดยสำนักรับรองมาตรฐานคุณภาพ (สรร.)จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประทศไทย(วว.)เป็นผู้ให้การรับรอง “ตัวระบบบริหารว่ากระบวนการซ่อมบำรุงมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด(๑๓๖ต้อง)” แต่ “ไม่รับรองตัวผลิตภัณฑ์/บริการ” ผู้ที่ให้การรับรองตัวผลิตภัณฑ์/บริการกับลูกค้าคือ “องค์กร”ที่ขอการรับรอง เพราะเป็นข้อตกลงระหว่างองค์กรกับลูกค้าจะ ตกลงกันตามข้อสัญญา “การทบทวนข้อตกลง”ที่ทั้งสองฝ่ายกำหนดขึ้นเอง ตัวละคร • องค์กร • (Organization หรือ ตัวเรา) • - องค์กรที่ขอการรับรองระบบ • บริหารคุณภาพภายใต้ขอบเขต • ที่กำหนดไว้ • เรื่องอะไร (ซ่อม/ผลิต/บริการ) • ประกอบด้วยหน่วยงานไหนบ้าง • (จะมีผู้ส่งมอบและลูกค้าภายใน • ระหว่างกระบวนการต่างๆ) ผู้ส่งมอบ (Supplier, Out source) -เป็นลูกค้าภายนอก (Business Fist Party) แต่เป็นลูกค้าที่มีข้อตกลง/สัญญา ที่ทำให้ ผลิตภัณฑ์เกิดคุณภาพ (Contract Product/Service) กองทัพอากาศ (Customer) - เป็นลูกค้าภายนอก (Market Product/Service) (ผู้นำสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ที่ผ่านกระบวนการ ผลิต/ซ่อม/บริการไปบริโภค หรือใช้สอย) - เรียกว่า Customer/Purchaser หรือ Enuser - ถือเป็น Business Second Party

  27. กรอบแนวคิดในการจัดวางระบบกรอบแนวคิดในการจัดวางระบบ ลูกค้าของท่านคือใคร ? ลูกค้าต้องการอะไร ? ใครเป็นผู้ออกไปแสวงหาความต้องการของลูกค้า ? เมื่อทราบความต้องการของลูกค้าแล้วเรานำข้อมูลมาจัดการให้เกิดคุณภาพอย่างไร ? ลูกค้าภายใน ลูกค้าภายนอก EN USER ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ IN PUT ของระบบ ต้องทำอะไรบ้าง จะรู้ได้อย่างไรว่ามีคุณภาพหรือไม่มีคุณภาพ ? ใครเป็นผู้กำหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ ? คุณภาพอยู่ในรูปแบบใด ? ใครเป็นผู้ให้การรับรองคุณภาพ ? สรร.ฯ องค์กร ระบบ ข้อกำหนดต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ ระบบ ข้อกำหนดต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ จะต้องวัดอะไรบ้าง จะใช้หลักการใดมาบริหารเพื่อให้เกิดคุณภาพ ? ถ้าไม่ได้คุณภาพท่านจัดการอย่างไร ? ถ้าได้คุณภาพทแล้วท่านจะจัดการอย่างไรต่อไป ? ISO เป็นยาวิเศษหรือยาหม้อใหญ่ที่แก้ปัญหาขององค์กรได้สารพัดโรคจริงหรือ? เป็นเพียงเครื่องมือการ บริหารงานอย่างหนึ่ง ขององค์กร เป็นยาวิเศษที่แก้ ปัญหาได้สำเร็จ ทุกเรื่อง P D C A การลงโทษ หยุด แก้ไข/ป้องกัน หยุด พัฒนาต่อไป อย่างต่อเนื่อง

  28. การเข้าถึงระบบบริหารคุณภาพการเข้าถึงระบบบริหารคุณภาพ การพัฒนาและการดำเนินงานระบบบริหารคุณภาพ ประกอบด้วย ๘ ขั้นตอนดังนี้ ๑. พิจารณาถึงความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าและหน่วยงานที่มีส่วนได้เสียอื่นๆ ๒. จัดทำ นโยบายคุณภาพ และ เป้าหมายคุณภาพ ขององค์กร ๓. พิจารณาถึงกระบวนการและความรับผิดชอบที่จำเป็น ที่จะทำให้บรรลุตามเป้าหมายคุณภาพด้านคุณภาพ ๔. พิจารณาและจัดหาทรัพยากรที่จำเป็น ที่จะทำให้บรรลุตามเป้าหมายคุณภาพ ๕. จัดทำวิธีการในการวัดความมีประสิทธิผลและความมีประสิทธิภาพของแต่ละกระบวนการ ๖. ใช้เครื่องมือวัดเพื่อศึกษาความมีประสิทธิผลและความมีประสิทธิภาพของแต่ละกระบวนการ ๗. พิจารณาแนวทางในการป้องกันสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด และกำจัดให้ถึงต้นตอสาเหตุ ๘. จัดทำและประยุกต์ใช้กระบวนการเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของระบบบริหารคุณภาพ

  29. การเข้าถึงระบบบริหารคุณภาพการเข้าถึงระบบบริหารคุณภาพ (IQA) 1st Party Audit (บุคลากรในระบบ) (EQA) 2nd Party Audit 3rd Party Audit (บุคลากรนอกระบบ) ๑. คุณภาพเริ่มต้นอย่างไร ? ๒. จะรู้ได้อย่างไรว่า....มีคุณภาพหรือไม่มีคุณภาพ ? ๓. คุณภาพอยู่ในรูปแบบใด ? ๔. จะใช้วิธีการบริหารแบบใดเพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพ ? ๕. ใครเป็นผู้ให้การรับรองคุณภาพ ? IN PUT PROCESS OUT PUT OUT COME D พิจารณาความต้องการของลูกค้า การทำผลิตภัณฑ์ให้เป็นจริง ผลิตภัณฑ์/บริการ ส่งมอบให้ลูกค้า จัดทำนโยบายคุณภาพ C การตรวจระบบบริหาร คุณภาพ (QA) 136 ต้อง การวัดสมรรถนะ กระบวนการ การวัดความพึงพอใจ ของลูกค้า การวัดผลิตภัณฑ์ (QC) จัดทำวัตถุประสงค์คุณภาพ พิจารณาถึงกระบวนการต่างๆ กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดการกับ NC การทบทวนของฝ่ายบริหาร ทรัพยากร - คน - วัตถุดิบ - สภาพแวดล้อม QC การวิเคราะห์ข้อมูล A การแก้ไข/ป้องกัน P P เอกสาร/บันทึก ประเมินผู้ส่งมอบ AVL, ASL การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร A การบริหาร D การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง C สรร.ฯ คุณภาพระบบบริหาร(QA)136 ต้อง สรุป วัดสมรรถนะกระบวนการ ตาม Spec รูปแบบคุณภาพ ผู้ให้การรับรอง วัดการบริหาร(IQA) การบริการ วัดผลิตภัณฑ์(QC) การวัด วัดความพึงพอใจของลูกค้า การส่งมอบ คุณภาพผลิตภัณฑ์(QC) องค์กร

  30. 4. ระบบบริหารคุณภาพ (สิ่งสนับสนุน) 4.1 ทั่วไป (เป็นแม่บทให้ข้อกำหนดอื่นๆต้องจัดทำ) 4.2 ข้อกำหนดเกี่ยวกับเอกสาร (ต้องมีการควบคุม) คุณภาพเกิดขึ้นได้อย่างไร - สรร.ฯ เป็นผู้รับรองระบบบริหารคุณภาพ(QA) - องค์กร เป็นผู้รับรองตัวผลิตภัณฑ์ (QC) 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร 5.1 การอุทิศตนของฝ่ายบริหาร (ต้องมีหลักฐาน) 5.2 การแสวงหาความต้องการของลูกค้า(ลูกค้าต้องการอะไร) 5.3 นโยบายคุณภาพ (ต้องสอดคล้องกับภาระกิจขององค์กร) 5.4 การวางแผน 5.4.1 วัตถุประสงค์คุณภาพ (ต้องวัดได้) 5.4.2 การวางแผนคุณภาพ 5.5 หน้าที่ความรับผิดชอบ อำนาจ และการสื่อสาร (JD,JS) 5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร (I/P=7, O/P=3) (ดูความเหมาะสมของระบบ.ฯ อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง) OUT COME ความ ต้อง การ ต่างๆ ของ ลูกค้า INPUT ความ พึง พอใจ ของ ลูกค้า P A 8.5 การแก้ไข ป้องกันและ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 8.5.1 การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 8.5.2 การแก้ไข 8.5.3 การป้องกัน ผล 6. การบริหารทรัพยากร (ปัจจัยป้อนเข้า) 6.1 การจัดให้มีทรัพยากรต่างๆ(ต้องมีแผน) 6.2 ทรัพยากรบุคคล (ต้องอยู่บนพื้นฐาน การศึกษา การอบรม ทักษะ ประสบการณ์) 6.3 สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน 6.4 การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน P A 8. การวัด การวิเคราะห์ 8.1 บททั่วไป 8.2 การเฝ้าติดตามและการวัด 8.2.1 การสำรวจความพึงพอใจของลูกค้า 8.2.2 การตรวจติดตามภายใน(IQA) (ตรวจระบบบริหารทั้งระบบเพื่อรับประกันคุณภาพทั้งระบบ) 8.2.3 การเฝ้าติดตามและวัดผลกระบวนการ 8.2.4 การเฝ้าติดตามและวัดผลผลิตภัณฑ์(QC) 8.3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (NC) (การแยกของดีออกจากของเสีย) 8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล (ค้นหาสาเหตุของปัญหา) C D C วัด 7. การทำผลิตภัณฑ์ให้เป็นจริง 7.1 การวางแผนทำผลิตภัณฑ์ให้เป็นจริง(พัสดุ/บริการ) (เป็นแผนที่รวมอยู่ในผังกระบวนธุรกิจ) 7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า (ลูกค้าต้องการอะไร และเราจะทำให้เขาได้หรือไม่) 7.3 การออกแบบและการพัฒนา (ขอยกเว้น) 7.4 การจัดซื้อ (ชิ้นส่วนอะไหล่) 7.5 การดำเนินการผลิตและบริการ 7.6 การควบคุมเครื่องมือเฝ้าติดตามและตรวจวัด D INPUT(พัสดุ+ความต้องการ) OUTPUT ผลิตภัณฑ์

  31. ขั้นตอนการจัดวางระบบ ISO แบบ PDCA การตระเตรียมความพร้อม การปรับปรุง ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง ในการกำหนดนโยบายคุณภาพ และแต่งตั้ง QMR ,คณะกรรมการ การจัดเตรียมทรัพยากร คน/อุปกรณ์/สภาพแวดล้อม การศึกษา - ค้นคว้า - ให้ความรู้ อบรม/พัฒนา (การ KUSA และอบรม ข้อกำหนดแนวคิดคุณภาพ) การได้รับการฝึกอบรม การเขียนเอกสาร การจัดแถลง/นำเสนอเปิดโครงการ มุ่งสู่ ISO (ประชาสัมพันธ์) การวางระบบ ฯ และ การจัดทำเอกสาร P การทบทวนเอกสาร การรักษาสภาพ การปฏิบัติเข้าสู่ระบบ ฯ การควบคุมกำกับดูแลของคณะผู้บริหาร เพื่อให้ ระบบนิ่ง คงเส้นคงวา แก้ไข/ปรับปรุง การอบรม/พัฒนา IQA การนำระบบ ฯ ไปปฏิบัติ D การทบทวนของฝ่ายบริหาร/การ แก้ไข การป้องกัน และการพัฒนา การวัดและวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติงาน การตรวจเยี่ยม (Pre-visit) และเฝ้าติดตาม (Monitoring) การตรวจสอบและประเมินผล C การตรวจติดตาม(IQA) ครั้งที่ 1 การตรวจติดตาม (IQA) ครั้งที่ 2 การตรวจติดตาม(EQA)ของ สรร.ฯ การปรับปรุงงาน / แก้ไข ป้องกัน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง A ปรับคน ปรับวัสดุอุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐาน ปรับกระบวนการ/เอกสาร

  32. KUSA อบรมข้อกำหนดแนวคิดคุณภาพ ISO 9000 ให้บุคลกร ที่ผู้บริหารระดับสูงมอบหมาย เตรียมความพร้อม ขั้นตอนที่จำเป็นต่อการจัดทำ 1 ตัดสินใจเลือกขอบเขตที่จะทำ ISO 9000 และแสดงความมุ่งมั่น ผู้บริหารระดับสูง (Top Down) นโยบายคุณภาพ แต่งตั้ง QMR , คณะกรรมการ เตรียมทรัพยากร การฝึกอบรมเกี่ยวกับ ISO 9001 การจัดทำเอกสารในระบบคุณภาพ การทบทวนระบบคุณภาพจากเอกสารที่จัดทำขึ้น การนำเสนอเปิดโครงการมุ่งสู่ ISO 9001 กรณีปรับปรุงทบทวนพัฒนา ขั้นเตรียมความพร้อม เพื่อดำเนินการ ศึกษา-ค้นคว้า-ให้ความรู้ อบรม/พัฒนา 2 กรณีรักษาสถานภาพ Yes การดำเนินการและปฏิบัติ (Implementation) 3 เข้าสู่ระบบ ISO9001 ภาคปฏิบัติ (Bottom Up) อบรม/พัฒนา IQA Team ปรับปรุงให้ระบบนิ่ง คงเส้นคงวา แก้ไข/ปรับปรุง Pre visit Monitoring Yes IQA (1st Party Audit) 4 No ปรับคน ปรับวัสดุอุปกรณ์ ปรับระบบ/กระบวนการ ขอรับการรับรอง/ตรวจ ประเมินระบบโดยCB (3rd Party Audit) ทบทวนปรับปรุง ระยะเวลาดำเนินการ 10 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 18 เดือน อาจย่นระยะเวลาให้สั้นลงได้ตามเทคนิค การเก็บข้อมูลก่อน CB จะตรวจประเมิน ระบบต้องใช้ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนเป็น อย่างน้อย ASSESSMENT (Certification Audit) No Yes ให้การรับรองเป็นทางการกับองค์กรนั้น รักษาระบบให้ได้ ปรับปรุงพัฒนาต่อเนื่อง ( P D C A )

  33. ลำดับ แผนดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. แผนดำเนินงานจัดวางระบบ ISO แต่งตั้งคณะกรรมการ ISO 9001:2000 ๑ ตรวจประเมินสถานะปัจจุบันของระบบคุณภาพ ๒ ฝึกอบรมให้คณะกรรมการ ISO 9001:2000 และ Working Team ๓ - ISO 9001:2000 Requirement & Quality Awareness - ISO 9001 : 2000 Document Writing - Internal Quality Audit (IQA) แผนงานเขียนระบบเอกสาร ISO 9001:2000 ๔ - Quality Plan - Quality/Work Procedure - Work Instruction - Quality Manual การทบทวนอนุมัติใช้ระบบเอกสาร ISO 9001:2000 ๕ การฝึกอบรมข้าราชการ ๖ การประชาสัมพันธ์ ๗ การประยุกต์ใช้ตามระบบงานที่จัดทำขึ้นมา ๘ การตรวจติดตาม ๙ - IQA โดยองค์กร - IQA โดยที่ปรึกษา (ถ้าต้องการ) ปฏิบัติการแก้ไขและป้องกันสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ๑๐ การทบทวนของฝ่ายบริหาร ๑๑ การส่งคู่มือคุณภาพและเอกสารในระบบให้ CB ๑๒ การขอรับการรับรองระบบ ISO 9001:2000 ๑๓ - ยื่นใบสมัคร - ตรวจประเมินเบื้องต้น (Pre-visit) - ตรวจประเมิน(Assessment) - ได้รับการรับรอง

  34. ISO 9001:2000 QMS Model (QMS & Management) 8 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุง 5.1 คำมั่นสัญญาของฝ่ายบริหาร 5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร 5.2 การเอาใจลูกค้า 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป (เป็นแม่บทสั่งให้ข้อกำหนดอื่นๆทำ) 5.3 นโยบายคุณภาพ 5.5 หน้าที่ อำนาจ และการสื่อสาร 4.2 ข้อกำหนดด้านเอกสาร 5.4 การวางแผน 6.1 การจัดหาทรัพยากร 7.1 การวางแผนทำให้ผลิตภัณฑ์ เป็นจริง

  35. ISO 9001:2000 QMS MODEL (Resource) 5.4 การวางแผน 5.5 หน้าที่ อำนาจ และการสื่อสาร 6.1 การจัดหาทรัพยากร 6.4 สภาพแวดล้อม 6.2 ทรัพยากรบุคคล 6.3 โครงสร้างพื้นฐาน

  36. ISO 9001:2000 QMS MODEL (Production & Service) 5.4 การวางแผน 7.1 การวางแผนทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นจริง 7.6 การควบคุมเครื่องมือวัด 7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 7.5 การผลิตและให้บริการ 7.5.1 การควบคุม ดำเนินการผลิตและบริการ 7.3 การออกแบบและพัฒนา 7.5.2 การยืนยันกระบวนการสำหรับการผลิตและบริการ 7.5.3 การชี้บ่งและความสามารถในการสอบกลับได้ 7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า 7.4 การจัดซื้อ 7.5.5 การถนอมรักษาผลิตภัณฑ์ ข้อสังเกต Productหรือ “ ผลิตภัณฑ์ ” อาจหมายถึง “ บริการ ” ด้วย สามารถประยุกต์ได้

  37. ISO 9001:2000 QMS Model (Monitoring & Measurement 8.1 บททั่วไป 8.2 การเฝ้าติดตามและการวัดผล 8.5 การปรับปรุง 8.5.1 การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า 8.5.2 การลงมือแก้ไข 8.2.2 การตรวจติดตามภายใน(IQA) 8.5.3 การลงมือป้องกัน 8.2.3 การเฝ้าติดตามและวัดกระบวนการต่างๆ 8.2.4 การเฝ้าติดตามและวัดผลิตภัณฑ์ (QC) 5.6 การทบทวนของ ฝ่ายบริหาร 8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 8.3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (NC)

  38. ๒. ข้อกำหนดและการจัดทำเอกสาร ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000

  39. ถ้าหากเจ้ามีวิสัยทัศน์ยาวไกลไม่เกินหนึ่งปี ก็จงปลูกดอกไม้ ถ้าหากเจ้ามีวิสัยทัศน์ยาวกว่านั้นแต่ไม่เกินสิบปี ก็จงปลูกต้นไม้ แต่ถ้าหากเจ้ามีวิสัยทัศน์ยาวไกลชั่วนิรันดร ก็จงปลูกคนเถิด ”

  40. Quality Management System - Requirement ISO 9001:2000 4. ระบบบริหารคุณภาพ - เป็นการอธิบายภาพรวมทั้งระบบ และสิ่งสนับสนุน (ระบบเอกสาร/บันทึก)13(ข้อกำหนดทั่วไป, ข้อกำหนดด้านเอกสาร) 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร- การวางแผน และลงมือของผู้บริหาร(PและA ตามวงจร PDCA)15 (คำมั่นสัญญาฝ่ายบริหาร, การเอาใจใส่ลูกค้า, นโยบายคุณภาพ, การวางแผน, หน้าที่ฯ อำนาจ การสื่อสาร, การทบทวนของฝ่ายบริหาร) 6. การบริหารทรัพยากร - ทรัพยากรที่ป้อนเข้า เพื่อให้สามารถทำงานได้5(การจัดหาทรัพยากร, ทรัพยากรบุคคล, โครงสร้างพื้นฐาน, สภาพแวดล้อม) 7. การทำผลิตภัณฑ์ให้เป็นจริง- การทำ (D ใน PDCA)67(การวางแผนกระบวนการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า, การออกแบบและการพัฒนา, การจัดซื้อ, การดำเนินการผลิตและบริการ, การควบคุมเครื่องมือวัดและเฝ้าติดตาม) 8. การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง- คือ C ในการตรวจวัด(Check) และ A ในการลงมือ(Action) 36และหลังจากนั้นย้อนกลับไป PDCA (บททั่วไป, การวัดและการเฝ้าติดตาม, การควบคุมสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด, การวิเคราะห์ข้อมูล, การปรับปรุง) จำนวน “ ต้อง” ทั้งหมด 136 จำนวน “ต้อง” 136ต้องแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 1. “ ต้อง ” ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน 2. “ ต้อง ” ที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ คือ 7.2.1 , 7.2.2 เป็นข้อตกลงระหว่างหน่วยซ่อมกับลูกค้าจะตกลงกันในเรื่องคุณภาพ จะกำหนดเช่นไรก็ได้ โดยสรร.ฯจะไม่เข้าไปกี่ยวข้องและรับรอง คุณภาพในตัวผลิตภัณฑ์ แต่ สรร.ฯ จะรับรองเฉพาะตัวระบบบริหารงานเท่านั้น ในลักษณะ What to do = 136 Shall

  41. 4. ระบบบริหารคุณภาพ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป 4.2 ข้อกำหนดเกี่ยวกับเอกสาร 4.2.3 การควบคุมเอกสาร 4.2.4 การควบคุมบันทึก เอกสารในระบบบริหารคุณภาพ ต้อง ประกอบไปด้วย a) ข้อความที่เป็นลายลักษณ์อักษรของนโยบายคุณภาพ และเป้าหมายคุณภาพต่างๆ b) คู่มือคุณภาพ c) ขั้นตอนการทำงานที่เป็นลายลักษณ์อักษรต่างๆที่ข้อกำหนด ISOนี้สั่งให้ทำ d)เอกสารต่างๆที่จำเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าการวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุมกระบวนการต่างๆ มีประสิทธิผล e) บันทึกต่างๆ ที่ข้อกำหนด ISOนี้สั่งให้ทำ เป็นข้อกำหนดใหญ่ที่ สั่งให้ข้อกำหนดอื่นๆทำ แล้วเกิดเป็นข้อกำหนด 4.1 หรือ “ต้อง”แรกนี้จะ สำเร็จได้หลังจากทำทุก “ต้อง” สำเร็จแล้ว องค์กร ต้องจัดทำ ทำเป็นเอกสาร นำไปใช้และดำรงไว้ซึ่งระบบบริหารคุณภาพระบบหนึ่ง และพัฒนาประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพนี้อย่างต่อเนื่อง โดยให้สอดคล้องตามข้อกำหนดต่างๆในมาตรฐานนี้ องค์กร ต้อง a)ระบุกระบวนการต่างๆที่จำเป็นลงในระบบริหารคุณภาพ และมีการนำกระบวนการต่างๆเหล่านี้ไปใช้ทั่วทั้งองค์กร b)กำหนด ลำดับ ขั้นตอน ความสัมพันธ์กันของ กระบวนการต่างๆที่ระบุไว้แล้วข้างต้น c) กำหนดเกณฑ์และวิธีที่จำเป็น ในการที่จะทำให้มั่นใจว่า ทั้งการปฏิบัติและการควบคุมกระบวนการต่างๆเหล่านี้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล d) มั่นใจว่าทรัพยากรต่างๆและข้อมูลที่จำเป็นอย่างพร้อมเพรียง เพื่อใช้ในการรองรับการปฏิบัติและเฝ้าติดตามกระบวนการต่างๆเหล่านี้ e)เฝ้าติดตาม ตรวจวัด และวิเคราะห์กระบวนการต่างๆเหล่านี้ f) ลงมือทำตามความจำเป็นในการทำให้บรรลุตามผลลัพธ์ที่วางแผนไว้ ตลอดจนการพัฒนากระบวนการต่างๆเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง กระบวนการต่างๆเหล่านี้จะ ต้อง ได้รับการจัดการโดยองค์กรให้สอดคล้องกับข้อกำหนดต่างๆในมาตรฐานนี้ ถ้ามีกระบวนการใดก็ตามที่องค์กรใช้แหล่งภาย นอกทำแทนให้ และเป็นกระบวนการที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ องค์กร ต้อง มั่นใจว่ามีการควบคุมกระบวนการนั้นๆ การควบคุมกระบวนการที่ให้แหล่ง ภายนอกทำแทนให้นี้ ต้อง ระบุลงในระบบบริหารคุณภาพด้วย หมายเหตุ: กระบวนการต่างๆที่จำเป็น ที่ประกอบขึ้นมาเป็นระบบบริหารคุณภาพนั้น อย่าลืมรวมถึงกระบวนการจัดการ การจัดหาทรัพยากรต่างๆ การทำ สินค้าให้เป็นจริง และการวัดด้วย

  42. เอกสารหมายถึงสิ่งที่เราเขียนขึ้นมาอย่างเป็นทางการ อาจเขียนลงในกระดาษหรือพิมพ์ลงในคอมฯ จะมีสำเนากี่ชุดก็ได้ แต่สาระที่ใช้ต้องตรงกัน และมีหนึ่งเดียว ห้ามทำขึ้นมาแข่ง (มี VERSION ที่ตรงกันทั่วทั้งองค์กร) 4.2.1 เอกสารในระบบบริหารคุณภาพ บันทึก เป็นเอกสารชนิดพิเศษ หมายถึงการนำใบแบบหรือแบบฟอร์ม(FORM) มากรอก มาจด หรือพิมพ์ลงในกระดาษ หรือในคอมฯ มีการเก็บไว้ในแฟ้ม แบ่งเป็น 5 ระดับ คู่มือคุณภาพ (Quality Manual) ย่อว่า QMเป็นแม่บทในระดับนโยบาย (เป็นธรรมนูญการทำงานขององค์กร) 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work Procedure) WP ใช้สำหรับปฏิบัติงานตั้งแต่ 2 หน่วยงาน ขึ้นไป ให้การปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานมีประสิทธิภาพเสมอต้นเสมอปลาย เพื่อลดปัญหา ความขัดแย้งในเรื่องการทำงานระหว่างหน่วยงาน ทุกหน่วยงานจะทำงานได้แน่นอนตามที่ได้ ตกลงกันไว้ในเอกสาร (อย่างน้อยต้องมี 6 WP) 2 คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Instruction) ย่อว่า WI เป็นเอกสารที่กำหนดราย ละเอียดการปฏิบัติงานเฉพาะของหน่วยงานนั้นๆ เพียงหน่วยงานเดียว 3 4 แบบฟอร์ม (Forms) หรือใบแบบ หรือบันทึก FM ใช้สำหรับบันทึก ผลการปฏิบัติงาน เป็นเอกสารแต่เป็นเอกสารชนิดพิเศษ (อย่างน้อยต้องมี 19 FM) 5 เอกสารสนับสนุน (Supporting Document) SDใช้สำหรับการอ้างอิง

  43. 4.2.3 เอกสารและการควบคุม ลำดับเอกสาร วิธีการควบคุม มีการอนุมัติก่อนนำไปใช้งาน คู่มือคุณภาพ (QM) 1 เมื่อมีการแก้ไขต้องมีการอนุมัติซ้ำ ชี้บ่งเอกสารที่หมดอายุ การควบคุม เอกสาร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WP) 2 มีการชี้บ่งเมื่อมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง เอกสารจากภายนอกต้องชี้บ่งและควบคุม คู่การปฏิบัติงาน (WI) 3 เอกสารอ่านออกได้ และชี้บ่ง มีเอกสารพร้อม ณ จุดปฏิบัติงาน แบบฟอร์มการบันทึก(FM) 4 เอกสารสนับสนุน(SD) 5 เอกสารในระบบ (ต้องควบคุม) เอกสารนอกระบบ (ไม่ต้องควบคุม) การเก็บ สำเนาไม่ต้องควบคุม การจัดการ สำเนาควบคุม ต้นฉบับ การป้องกัน การควบคุม บันทึก - เป็นเอกสารฉบับแรกสุด - มีลายเซ็นจริงในการ ทบทวน/อนุมัติ - ประทับตรา “ต้นฉบับ” - ประทับตราเอกสารควบคุม - เก็บไว้ที่ DDC - มอบให้ผู้ถือครอง - มีสำเนาชุดที่….. - มีการ Update อยู่เสมอ - ประทับตราเอกสารควบคุม - แจกจ่ายตามบัญชีผู้ถือครอง - มอบให้ผู้สนใจทั่วไป - อาจประทับตราเอกสาร ไม่ควบคุม การเรียกค้น กำหนดระยะเวลาการจัดเก็บ

  44. การควบคุมเอกสารและข้อมูลการควบคุมเอกสารและข้อมูล เอกสาร บันทึก 4.2.1 a-d 4.2.1 e 4.2.3 a-g 4.2.4 ขนาดขององค์กร จำนวนเอกสารจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ ความสามารถของผู้เขียน ประเภทขององค์กร ความสามารถของผู้ปฏิบัติ ความซับซ้อนของงาน

  45. การกำหนดรหัสหมายเลขเอกสารของ กพส.ฯ QM WI - 1 FM - 9 Quality Manual คู่มือคุณภาพ Work Instruction คู่มือการปฏิบัติงาน Running No. ลำดับหมายเลข Form แบบฟอร์ม/ใบแบบการบันทึก Running No. ลำดับหมายเลข WP - 3 SD - 6 Work Procedure ขั้นตอนการปฏิบัติงาน Running No. ลำดับหมายเลข Support and Document เอกสารสนับสนุน Running No. ลำดับหมายเลข

  46. การกำหนดชื่อ รหัส เอกสารในระบบคุณภาพ การควบคุมเอกสารและข้อมูล DAE- P - 01 ชื่อหน่วยงาน DAE ขั้นตอนการปฏิบัติงาน WP (WORK PROCEDURE) เอกสารลำดับที่….. การซ่อมบำรุง AD - WPC - 18 ชื่อหน่วยงาน คู่มือการปฏิบัติงาน WI (WORK INSTRUCTION) เกี่ยวข้องกับเรื่อง…… (PROCESS CONTROL) เอกสารลำดับที่…..

  47. การกำหนดชื่อ รหัส เอกสารในระบบคุณภาพ ใบแบบบันทึกควบคุมเวลาการซ่อมบำรุง DAE- FPC - 106 เกี่ยวข้องกับเรื่อง….. (PROCESS CONTROL) ดูคำย่อต่างๆได้ในเรื่อง การควบคุมเอกสารและข้อมูล AD-P-01 ชื่อหน่วยงาน แบบฟอร์ม FM (FORMS) เอกสารลำดับที่(Running No)….. อยู่ในแฟ้มแบบฟอร์มหน้า 106 แบบกำหนดลักษณะหน้าที่งาน DAE- DJD - 30 ชื่อหน่วยงาน เอกสารสนับสนุน SD (SUPPORTING DOCUMENT เกี่ยวข้องกับเรื่อง….. (JOB DESCRIPTION) เอกสารลำดับที่(Running No)….. อยู่ในแฟ้มเอกสารสนับสนุนหน้า 30

  48. การวางระบบการจัดทำเอกสารการวางระบบการจัดทำเอกสาร เอกสารต้นฉบับ (DDC) เอกสารสำเนา - อยู่ในรูปแบบ PAPER - ข้อมูลสำรอง อยู่ในรูปแบบ CD-RW สำเนาชุดที่..... เอกสารควบคุม แจกจ่าย CD-R แก้ไข (DDC) เรียกคืน จัดเก็บ สำเนาชุดที่..... เอกสารควบคุม CD-R

  49. ข้อแตกต่างระหว่างการควบคุมเอกสารกับการควบคุมบันทึกคุณภาพ ข้อแตกต่างระหว่างการควบคุมเอกสารกับการควบคุมบันทึกคุณภาพ เอกสาร บันทึกคุณภาพ DDC ผู้ควบคุม เจ้าของบันทึกคุณภาพ ระยะเวลาการจัดเก็บ ไม่กำหนดเวลา 5 ปี บัญชีแม่บท DML (AD-DDC-28) บัญชีแม่บทบันทึกคุณภาพ (AD-FDC-12) การขึ้นบัญชีควบคุม ขั้นตอนการปฏิบัติ มีเรื่องเดียวและไม่ซับซ้อน มีหลายเรื่องและซับซ้อน Control room (DDCR) สถานที่จัดเก็บ ที่ทำงานของเจ้าของบันทึก ข้อกำหนด 4.2.1a-d จะถูกควบด้วย 4.2.3a-g ข้อกำหนด 4.2.1e จะถูก ควบคุมด้วย 4.2.4 การควบคุม การทบทวนและอนุมัติ มีการทบทวนและอนุมัติก่อนนำไปใช้

  50. การชี้บ่ง การชี้บ่ง แบ่งออกเป็น 6 ประเภทคือ 1. ชี้บ่ง เอกสาร ตามข้อกำหนด 4.2.3 - หมายเลขเอกสาร, ชื่อเอกสาร, แก้ไขตรั้งที่, วันที่มีผลบังคับใช้,เอกสารสำเนาหรือ เอกสารต้นฉบับ 2. ชี้บ่ง บันทึก ตามข้อกำหนด 4.2.4 -หมายเลขแบบฟอร์ม, ชื่อแบบฟอร์ม, ระยะเวลาการจัดเก็บและการทำลาย 3. ชี้บ่ง ทรัพย์สินของลูกค้า ตามข้อกำหนด 7.5.4 - ป้ายกำกับพัสดุ 4. ชี้บ่ง เครื่องมือวัด ตามข้อกำหนด 7.6 -ป้ายกำกับพัสดุ - Sticker 5. ชี้บ่ง การเก็บของในโกดัง ตามข้อกำหนด 7.5.5 -ป้ายชี้บ่งพื้นที่การจัดเก็บของบน Rack (งานเข้า-งานออก) -ป้ายชี้บ่งพื้นที่การจัดเก็บของในอาคาร 6. ชี้บ่ง สถานะการตรวจสอบและสอบกลับได้ของ สินค้า / บริการ ตามข้อกำหนด 7.5.3 - ตรายางประทับ QC/QA และ วัน เดือน ปี ที่ประทับ (สถานะการตรวจสอบ) - ตารางการ QC / QA (การสอบกลับได้ของผลิตภัณฑ์)

More Related