1 / 86

น.ต.พรพิชิต สุวรรณศิริ

น.ต.พรพิชิต สุวรรณศิริ. กศ.บ. (พยาบาลศึกษา) กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา). Paramedic Nurse Training Course Pre – Hospital Nurse Course Tactical Combat Casualty Care Instructor. การยกและการเคลื่อนย้าย. จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถ

cara
Télécharger la présentation

น.ต.พรพิชิต สุวรรณศิริ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. น.ต.พรพิชิต สุวรรณศิริ • กศ.บ. (พยาบาลศึกษา) • กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) • Paramedic Nurse Training Course • Pre – Hospital Nurse Course • Tactical Combat Casualty Care Instructor

  2. การยกและการเคลื่อนย้ายการยกและการเคลื่อนย้าย

  3. จุดประสงค์ : • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถ • เข้าใจหลักการทั่วไปการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บและป่วยฉุกเฉิน • ปฏิบัติการยกเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินใช้อุปกรณ์และไม่ใช้อุปกรณ์ได้

  4. เนื้อหาในการเรียนรู้ การยกและเคลื่อนย้าย • กลไกของร่างกายในการยกและเคลื่อนย้าย (Body Mechanic) • แนวทางในการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บและผู้ป่วยฉุกเฉิน (Guidelines for Lifting and Moving)

  5. หลักการสำคัญในการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินหลักการสำคัญในการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน • จับยึดอุปกรณ์ในการยก/เคลื่อนย้ายให้แน่น • ขณะยก ไม่บิดตัวหรือเอี้ยวตัวอย่างเด็ดขาด • ยืนเต็มเท้า ระยะห่างของเท้า=ช่วงไหล่ • ปลายเท้าด้านหนึ่งเหลื่อมไปข้างหน้าเล็กน้อย

  6. ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการยก ไม่ใช้กล้ามเนื้อหลัง • ให้น้ำหนักอยู่ใกล้ตัวมากที่สุด • ขณะยกควรทำหลังตรง เกร็งแขน และกล้ามเนื้อหน้าท้อง โยกตัวไปด้านหน้าเล็กน้อย ให้เข่าช่วยรับน้ำหนัก • ไม่แอ่นตัวรับน้ำหนัก หรือบิดตัว • หากต้องก้มให้งอสะโพก ไม่งอเอวหรือหลัง

  7. Power grip

  8. Power lift

  9. Guidelines for Lifting and Moving

  10. บทบาทของ จนท.เวชกิจฉุกเฉิน ในการยกและเคลื่อนย้าย • วางแผนการยกและเคลื่อนย้ายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ • นำผู้บาดเจ็บ และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน จากสถานการณ์ เพื่อให้การช่วยเหลือที่เหมาะสม • ป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่จากการยกและเคลื่อนย้าย • บำรุงรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ในการยกเคลื่อนย้ายให้พร้อมใช้เสมอ

  11. “ความสำคัญของการเคลื่อนย้าย“ความสำคัญของการเคลื่อนย้าย ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน” • อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งอาจเกิดอันตรายเพิ่มหากไม่ทำการเคลื่อนย้าย • มีภาวะคุกคามต่อชีวิตที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน • เพื่อนำส่งหรือรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมกับโรค หรือภาวะที่ผู้ป่วยเป็นอยู่

  12. ข้อควรคำนึงก่อนการเคลื่อนย้ายข้อควรคำนึงก่อนการเคลื่อนย้าย • ผู้ช่วยเหลือต้องไม่เกิดอันตราย • ผู้ป่วยต้องไม่เกิดอันตรายเพิ่มขึ้น (Do no further harm) • ควรให้การดูแลก่อนการเคลื่อนย้ายตามความเหมาะสม • พิจารณาความสมเหตุสมผลในการดูแลเต็มที่ หรือการรีบนำส่งอย่างรอบคอบ

  13. ระมัดระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ที่บาดเจ็บบริเวณระมัดระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ที่บาดเจ็บบริเวณ • เหนือกระดูกไหปลาร้า หรือมี • บาดแผลที่ใบหน้า • การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร • ผู้ที่หมดสติ ซึ่งอาจได้รับบาดเจ็บของไขสันหลัง • ประเมินสภาพผู้บาดเจ็บก่อนการเคลื่อนย้ายเสมอ

  14. หลักการสำคัญในการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินหลักการสำคัญในการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน • ให้การดูแลเบื้องต้นก่อนการเคลื่อนย้าย • ต้องทราบว่าผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจ็บหรือมีรอยโรคบริเวณใด • พิจารณาการเคลื่อนย้าย วิธีการ ผู้ช่วยเหลือ และอุปกรณ์ที่เหมาะสม • เคลื่อนย้ายอย่างถูกวิธี รวดเร็ว • เคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบไปทั้งตัวเหมือนท่อนไม้กลิ้ง (Log roll)

  15. ยึดตรึงผู้ป่วยเพื่อลดการเคลื่อนไหวและการบาดเจ็บเสมอ • เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ดีกว่าเคลื่อนย้ายตัวผู้ป่วยโดยตรง • ยกอุปกรณ์ดีกว่ายกผู้ป่วย • ให้นำอุปกรณ์ไปหาผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ

  16. การเอื้อม ผลัก ดึง ที่ต่ำกว่าเอวให้ย่อเข่าลงหรือคุกเข่า • ไม่ยก เอื้อม ผลัก ดึงที่สูงเกินศีรษะ หากเกิน ควรหาที่รองเหยียบขึ้นไป • ไม่ควรเกร็งกล้ามเนื้อนานเกิน 1 นาที เพราะจะเมื่อยล้า เคล็ด • การยกและเคลื่อนย้ายหลายคน จะต้องชี้แจงก่อนการปฏิบัติและมีหัวหน้าทีมอยู่ด้านศีรษะทำการสั่งการ ให้จังหวะ

  17. ผู้ยกควรมีส่วนสูง และความแข็งแรงใกล้เคียงกัน • ควรแบ่งน้ำหนักในการยกเท่าๆ กันกับผู้ยกทุกคน • ต้องทราบข้อจำกัดของตนเอง อย่าฝืนยก • ทราบว่าอุปกรณ์ยกรับน้ำหนักได้เพียงใด ซึ่งควรศึกษาจากคู่มือก่อนการใช้งาน • ควรสวมรองเท้าหุ้มข้อ พื้นไม่ลื่น ไม่สูง และเหมาะกับสภาพอากาศ

  18. ต้องฝึกท่าทางการยกและเคลื่อนย้ายที่ถูกต้อง และการนับเป็นจังหวะ จนเป็นนิสัย • แจ้งให้ผู้ถูกยกทราบว่าจะปฏิบัติอย่างไร เพื่อความร่วมมือและขออนุญาต • ผู้ยกต้องหันหน้าเข้าหากัน เพื่อสังเกตอาการผู้ป่วยเสมอ • ไม่เอื้อมห่างตัวเกิน 15 – 20 นิ้ว • หากทำได้ใช้ผลักแทนการลากหรือดึง

  19. อันตรายที่เกิดจากการยกและเคลื่อนย้ายอันตรายที่เกิดจากการยกและเคลื่อนย้าย

  20. อันตรายที่เกิดจากการยกและเคลื่อนย้ายอันตรายที่เกิดจากการยกและเคลื่อนย้าย ต่อผู้ยก • ปวดหลัง เอว เข่า • กล้ามเนื้ออักเสบ • เอ็นอักเสบ • เข่าเสื่อม • หมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือแตก

  21. ต่อผู้ป่วย • หากกระดูกส่วนคอหัก อาจกดทับเส้นประสาทที่ควบคุมการหายใจ ทำให้หยุดหายใจได้ • กรณีหมดสติ ลิ้นอาจอุดทางเดินหายใจได้ • เจ็บปวดมากขึ้น อาจปวดจนเกิดภาวะช็อกได้ • กระดูกสันหลังที่หัก กดทับเส้นประสาทไขสันหลัง จนเป็นอัมพาตถาวร • การยกที่ผิดวิธี กระดูกที่หักจะทิ่มแทงเส้นเลือด ทำให้เลือดออกมาก ทิ่มแทงเส้นประสาท ทำให้เจ็บปวด หรือเกิดภาวะช็อกได้

  22. หลักการยกและเคลื่อนย้ายหลักการยกและเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยที่ควรสงสัยว่ามีการบาดเจ็บของไขสันหลัง • การช่วยเหลือต้องให้กระทบกระเทือนน้อยที่สุด • หากสวมหมวกนิรภัยต้องถอดอย่างระมัดระวัง • ยึดตรึงให้คอ หลัง อยู่ในแนวตรงด้วยอุปกรณ์ยึดตรึงก่อนเคลื่อนย้าย เช่น • ใช้เฝือกดามคอชนิดแข็ง (Hard collar) ร่วมกับอุปกรณ์ดามตัว (KED) • และใช้ Long spinal board ในการเคลื่อนย้าย ทุกรายตามข้อบ่งชี้ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้รับบาดเจ็บ

  23. ใช้กระดานรองหลังชนิดยาวเสมอ ไม่ควรใช้ scoop ในการเคลื่อนย้าย • ถ้าต้องพลิกตัวต้องไปแบบท่อนซุง (log roll) • ยึดตรึงตัวกับ long SB. ด้วยเข็มขัด ผ่านซอกรักแร้ สะโพก เหนือเข่า เพื่อไม่ให้เลื่อนหลุดระหว่างเคลื่อนย้าย • ไม่เคลื่อนย้ายในท่านั่งเมื่อใส่ Hard collar ต้องให้ผู้ป่วยนอนลงเสมอ

  24. ใช้เมื่อจำเป็น ก่อให้เกิดอันตรายต่อกระดูกสันหลังได้ง่าย ประเภทของการเคลื่อนย้าย 1. แบบฉุกเฉิน (Emergency Moves) • เป็นการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยเร่งด่วนเมื่ออาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย • เพื่อแลกกับโอกาสการมีชีวิตรอด • มีเปลวไฟ • กำลังจะเกิดระเบิด • มีสารพิษ • เหตุการณ์รุนแรง • ผู้ป่วยมีภาวะคุกคามต่อชีวิต • ไม่สะดวกในการให้การช่วยเหลือ • อาจไม่สามารถนำอุปกรณ์มาช่วยเหลือได้ทัน • ไม่สามารถใช้อุปกรณ์ยึดตรึงได้อย่างสมบูรณ์เต็มที่

  25. 2. แบบเร่งด่วน (Urgent Moves) • เป็นการเคลื่อนย้ายที่รวดเร็วกว่าปกติ • เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่อาจมีภาวะคุกคามต่อชีวิตในระยะต่อมาได้ • ติดในซากรถ • มีบาดแผลกระดูกหักแต่รู้สึกตัว • ผู้ที่อยู่ในภาวะช็อก • มีลมในปอด • บาดเจ็บที่ศีรษะต้องรีบผ่าตัดสมอง • ฯลฯ

  26. 2. แบบเร่งด่วน (Urgent Moves) • สามารถให้การดูแลรักษา ณ จุดเกิดเหตุ ก่อนทำการเคลื่อนย้าย • สามารถให้ O2 • ห้ามเลือด • ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ • ดามกระดูก • ใช้อุปกรณ์ยึดตรึงได้ ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายออกมาจากที่เกิดเหตุ

  27. 3. แบบไม่เร่งด่วน (Non urgent Moves) • ช่วยเหลือผู้ที่มีอาการไม่ฉุกเฉิน • ไม่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต • รู้สึกตัวดี • รอเวลาในการรักษาได้ • สภาพแวดล้อมปลอดภัย • เช่น fx. กระดูกท่อนล่าง ปวดศีรษะ ถ้าเลือกได้ควรเลือกรูปแบบนี้ • สามารถเตรียมคน อุปกรณ์ เหมาะสม • ให้การช่วยเหลือก่อนที่จะนำผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุอย่างไม่เร่งรีบ

  28. การใช้อุปกรณ์ยก เคลื่อนย้ายและยึดตรึง Cervical hard Collar, C-Collar เฝือกดามคอ ชนิดแข็ง คุณสมบัติ -ใช้ support c-s pine -X-Ray ผ่าน -มีหลายขนาด ตามความยาวคอ Pt

  29. Head immobilizers พร้อม Long Spinal Board และ Belt คุณสมบัติ - ใช้ในPt ที่สงสัย spinal injury - X-ray ผ่าน - ลอยน้ำได้ - น้ำหนัก 5-15 กก. - รับน้ำหนักได้ 130-200 กก.

  30. คุณสมบัติ - ใช้ใน Pt ที่กระดูกแขน ขา สะโพกหัก และผู้ป่วย Non Trauma - X-ray ไม่ผ่าน - น้ำหนัก 5-15 กก. - รับน้ำหนักได้ 130-200 กก. Scoop

  31. Wheeled Stretcher คุณสมบัติ - ใช้ในการเคลื่อนย้าย Pt ขึ้นรถพยาบาล - รับน้ำหนักได้ถึง 300 กก. - ปรับ Position ผู้ป่วยได้หลายท่า

  32. Stair chair หรือ เก้าอี้แบบไม่พับ คุณสมบัติ - ใช้ในPt ที่ไม่มี spinal injury - ใช้เคลื่อนย้าย Pt ขึ้น ลงบันได - ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี หายใจไม่ดี - รับน้ำหนักได้ 130-200 กก.

  33. Kendrick Extrication Device (KED) คุณสมบัติ - ใช้ในการนำ Pt ออกจากซากรถ - X-ray ผ่าน - ใช้ร่วมกับ spinal board - ใช้กลับหัวดามในรายที่กระดูกต้นขาหรือกระดูกสะโพกแตกได้

  34. Vacuum splint คุณสมบัติ - ใช้ดาม Pt ที่มีกระดูกหัก - X-ray ผ่าน - ใช้ห้ามเลือดได้ - ใช้ง่าย ตามได้ตาม position ที่ หัก - มีหลายขนาดให้เลือก

  35. การใช้ Wheeled Stretcher เปลนอนรถพยาบาล Ambulance wheeled stretcher การย่อเปลลงเพื่อรับผู้ป่วย แล้วยกขึ้นตรงๆ (2 คน) จนขาเปลตึง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

  36. การเข็นเปลในระยะไกล ควรให้ด้านเท้าไปก่อน เพื่อป้องกันอาการเวียนศีรษะให้ผู้ป่วยมองเห็นทางขณะเคลื่อนย้าย การเข็นเปลขึ้นรถพยาบาลให้เอาด้านศีรษะเข้าก่อน

  37. ใช้ในกรณีสงสัย C – spine injury ต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ ไม่เคลื่อนย้ายในท่านั่งเมื่อใส่ collar เพราะจะกดเส้นเลือดข้างคอ การเก็บควรคลายปุ่มล็อกเสมอ มีทั้งชนิดปรับความยาวคอได้และปรับไม่ได้ เมื่อใส่ collar แล้วต้องยึดตรึงศีรษะไว้เสมอ จนกว่าจะใส่ Head Immobilizer แล้วจึงปล่อยมือได้ การใช้ Hard Collar

  38. การวัดขนาดของ Hard collar

  39. การวัดขนาดของ Hard collar • ท่านั่ง วัดจากแนวขนานปลายคางถึงความยาวช่วงคอ • ท่านอน วัดจากปุ่มขากรรไกรล่างถึงความยาวช่วงคอ • ขณะวัดให้ผู้ป่วยมองตรงๆ เลือกขนาดใกล้เคียงมากที่สุด • โดยเทียบกับ sizing line หรือ Marker (ปุ่มดำ /แนวเส้นตรง ไม่นับส่วนโฟม) • ขณะสอด collar สามารถยกศีรษะผู้ป่วยขึ้นไม่เกิน 8 cm. หรือแนวกระดูกสันหลังต้องไม่งอหรือเหยียด

  40. การใช้ Stair chair

  41. การนำผู้ป่วยลงบันได โดยใช้ stair chairโดยต้องมีผู้นำทาง (spotter) คอยนำทาง

  42. การใช้ Scoop (Orthopedic Stretcher) • เหมาะกับผู้ป่วย none trauma ทุกชนิด , #pelvic • เพราะใช้งานง่าย ไม่ต้องพลิกตัวมาก • ปรับความยาวตามความสูงผู้ป่วยได้ • ข้อเสีย มีขอบทำให้กระดูกสันหลังไม่เป็นแนวตรง

  43. การใช้ Long spinal board • ใช้ร่วมกับ • Hard collar • Head immobilizer • Belt เสมอ

  44. เหมาะกับผู้ป่วย trauma ที่สงสัย c-spine injury • โดยมีผู้ช่วยเหลืออย่างน้อย 2 คน • คนที่ 1 ประคับประคองศีรษะและคอไว้ตลอด • คนที่ 2 ใส่ Hard collar แล้วพลิกตัวขึ้น board • และใส่ Head immobilizer รัด Belt ที่หน้าอก, สะโพก/ต้นขา, เหนือเข่า

More Related