1 / 29

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 สิงหาคม 254 8

พัฒนาการเศรษฐกิจไทย. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 สิงหาคม 254 8. กรอบการบรรยาย. การพัฒนาในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา กรอบแนวคิดและรูปแบบการพัฒนา ผลการพัฒนา. การพัฒนาฯ ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา : 2 ช่วงของการพัฒนา. ช่วงแรก : ช่วงแผนฯ 1- แผนฯ 7 ( พ . ศ . 2504-2539).

Télécharger la présentation

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 สิงหาคม 254 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการเศรษฐกิจไทย คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27สิงหาคม 2548

  2. กรอบการบรรยาย • การพัฒนาในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา • กรอบแนวคิดและรูปแบบการพัฒนา • ผลการพัฒนา

  3. การพัฒนาฯในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา:2 ช่วงของการพัฒนา ช่วงแรก: ช่วงแผนฯ 1- แผนฯ 7 (พ.ศ. 2504-2539) เศรษฐกิจเป็นตัวนำ สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นตัวตาม ในช่วงแผนฯ 3 และ 4 เริ่มมีการวางแผนด้านสังคม โดยได้กำหนดนโยบายลดอัตราเพิ่มประชากร แผนฯ 7เริ่มกำหนดแนวทางตามแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)ที่มุ่งเน้นการพัฒนาที่สมดุลใน 3 ด้านคือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม แต่ในทางปฏิบัติลำดับความสำคัญยังค่อนข้างกระจุกตัวในด้านเศรษฐกิจ Top-down Planning by Planner แผนฯ 1-2เทคนิคการวางแผนด้านการวิเคราะห์โครงการ (Project Analysis) แผนฯ 3-4เป็นแผนชี้นำมากขึ้น การวางแผนรายสาขา(Sectoral Planning) แผนฯ 5-6การวางแผนโดยการจัดทำแผนงาน (Programming) แผนฯ 7การพัฒนาแบบองค์รวม

  4. การพัฒนาฯในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา:2 ช่วงของการพัฒนา ช่วงหลัง: ช่วงแผนฯ 8- แผนฯ 9 (พ.ศ. 2540-2549) Bottom-UpPlanning การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผนซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการพัฒนาไปสู่เป็นการมุ่งเน้นการพัฒนาให้มีความสมดุลของทุกมิติ “การวางแผนและการกำหนดทิศทางการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน” การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์การพัฒนา(Paradigm Shift) คนเป็นปัจจัยการผลิต คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา(People Centered Development)

  5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาในด้านต่าง ๆ มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต:ช่วงแผนฯ 8 และ 9 ครอบครัวและชุมชน ฅน การบริหารจัดการ เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  6. ผลการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาผลการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมา ที่มา สศช. 1/ ณ ปีสุดท้ายของแต่ละช่วง

  7. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่องผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่พื้นที่ป่าไม้ลดลงต่อเนื่อง เศรษฐกิจขยายตัว แต่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม

  8. มีการระดมทุนจากต่างประเทศมากมีการระดมทุนจากต่างประเทศมาก และนำไปใช้ในสาขาที่พึ่งตนเองน้อย GDP % 2528 2542 2551 2538 • เศรษฐกิจเติบโตสูงเฉลี่ย 8% ต่อปี • เก็งกำไรอสังหาริมทรัพย์และตลาดทุน • เปิดเสรีทางการเงิน • การไหลเข้าเงินทุนระยะสั้นสูง • การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย • ค่าเงินบาทถูกโจมตี • ปัญหาสถาบันการเงิน • ปัญหาการขาดสภาพคล่อง • เศรษฐกิจหดตัว • ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง • ภาระหนี้สินและความยากจน เศรษฐกิจฟองสบู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน ปรับตัว 2540 วิกฤติการเงิน

  9. การพัฒนาที่ไม่สมดุล : บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต เศรษฐกิจ ขยายตัวแต่ ไม่มีเสถียรภาพ คนรุ่นปัจจุบันใช้ ทุนของคนรุ่นลูกหลาน ทรัพยากร ถูกใช้ ความยากจน กากของเสีย วัตถุนิยม สังคม ขัดแย้งไม่มีความสุข ทั้งกายและใจ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ถูกทำลายอย่าง รวดเร็ว ขาดจิตสำนึก แย่งชิงทรัพยากร • วัตถุดิบมีปริมาณน้อย • ระบบธรรมชาติบิดเบือน • ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง • คุณภาพชีวิตลดลง • ความขัดแย้งทางสังคม • วัฒนธรรมเสื่อมถอย หนี้ของ คนรุ่นลูกหลาน

  10. เศรษฐกิจไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา : ความมั่นคง

  11. โครงสร้างด้านอุปสงค์ในปัจจุบันโครงสร้างด้านอุปสงค์ในปัจจุบัน สัดส่วนการส่งออกสูง ซึ่งสะท้อนว่าการลงทุน การจ้างงาน การใช้จ่าย และกิจกรรมการผลิตที่ต้องขึ้นอยู่กับภาวะการส่งออกมีมาก incomeuncertainty

  12. สัดส่วนการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องนับแต่ปี 2543 *ตัวเลขการลงทุนไม่รวม inventories ที่มา : สศช. 12

  13. ระดับความเปิดของประเทศระดับความเปิดของประเทศ ที่มา : สศช.

  14. โครงสร้างการส่งออกสินค้ารายหมวดโครงสร้างการส่งออกสินค้ารายหมวด ประมาณร้อยละ 80 เป็นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และส่งออกสินค้าเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 10 ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  15. ตลาดส่งออกหลักของประเทศไทยตลาดส่งออกหลักของประเทศไทย ตลาดอาเซียนและจีนมีบทบาทมากขึ้นตามลำดับ ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  16. โครงสร้างการนำเข้าสินค้ารายหมวดโครงสร้างการนำเข้าสินค้ารายหมวด ประมาณร้อยละ 46 เป็นการนำเข้าสินค้าวัตถุดิบ และร้อยละ 30 เป็นการนำเข้าสินค้าทุน ส่วนการนำเข้าเชื้อเพลิงมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  17. ตลาดนำเข้าหลักของประเทศไทยตลาดนำเข้าหลักของประเทศไทย นำเข้าจากตลาดตะวันออกกลางเพิ่มขึ้นมากจากการนำเข้าน้ำมัน และนำเข้าจากจีนเพิ่มมากจากการทำข้อตกลงทางการค้า ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  18. โครงสร้างเศรษฐกิจด้านอุปทาน (% GDP): Manufacturing dominate ที่มา : สศช.

  19. Net FDI inflows to Thailand by Home countries

  20. Net Flow of FDI to Thailand in industrial sector (Mil.$U.S) ที่มา ธปท.

  21. การกระจายแรงงานในแต่ละสาขาการผลิตการกระจายแรงงานเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น แต่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในภาคเกษตร ร้อยละ

  22. สัดส่วนความยากจนในแต่ละภูมิภาคสัดส่วนคนจนลดลงในทุกภูมิภาค แต่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในช่วงวิกฤต (ร้อยละ)

  23. การจ้างงานในระบบ: ภาคเกษตรแหล่งการจ้างงานหลัก ที่มา การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สสช.

  24. แต่ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่าค่าจ้างเฉลี่ยของประเทศแต่ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่าค่าจ้างเฉลี่ยของประเทศ ที่มา สสช.

  25. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี 2540 – 41ได้ปรับตัวดีขึ้นตามลำดับตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา จากการ ดำเนินมาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจ (โครงการมิยาซาว่า งบประมาณค่าใช้จ่ายสำรองตุ้นเศรษฐกิจ) การเร่งรัด การดำเนินงานของบริษัทบริหารสินทรัพย์ไทย การสร้างบรรยากาศการลงทุนโดยการปฏิรูปและ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เป็นรูปธรรม รวมถึงการจัดตั้งกองทุน Matching Fundฯลฯ ที่มา : สศช. ธปท. กระทรวงพาณิชย์

  26. ผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไปผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไป สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP NPLs ต่อสินเชื่อรวม และ NPA หนี้สาธารณะต่อ GDP ลดลงจากช่วงวิกฤต แต่ยังทรงตัวในระดับสูงเมื่อเทียบกับช่วงก่อนวิกฤต Q1 = 43.5% NPL ลดลงมากจากช่วงวิกฤต แต่เพิ่มขึ้นในปี 2546 และค่อนข้างทรงตัวในปี 2547 NPA นอกจากนั้นทรัพย์สินที่รอ การขาย เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง NPL ที่มา : ธปท.

  27. ผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไปผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไป การใช้กำลังการผลิต (%) การใช้กำลังการผลิตต่ำลงในช่วงวิกฤตโดยอยู่ในระดับต่ำสุดที่ 54.8 ในเดือนพฤศจิกายน 2541 แม้จะปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมาแต่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าช่วงก่อนวิกฤต

  28. บทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจบทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจ • การขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยปราศจากคุณภาพ ไม่สามารถยั่งยืนอยู่ได้ • วัฏจักรที่เศรษฐกิจขยายตัวสูงมากๆมักจบด้วยการหดตัวที่รุนแรง • ในยุคโลกาภิวัตน์ ระยะเวลาในการปรับตัวและแก้ไขความผิดพลาดมักจะสั้น • การปล่อยเสรีในการเคลื่อนย้ายเงินทุน จะต้องค่อยเป็นค่อยไปและสอดคล้องกับการปรับตัวของระบบสถาบันและการสร้างวินัยในระบบกรเงินของประเทศ • ประสิทธิภาพของภาคการเงินและภาคการผลิตและบริการ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดและต้องได้รับการพัฒนาไปอย่างสอดคล้องกัน • การขาดการพัฒนาตลาดทุน ที่เหมาะสมกับรูปแบบการลงทุนที่เปลี่ยนไป • การพึ่งพาทุนจากต่างประเทศ มากเกินไป • การขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยไม่มีเสถียรภาพ และการบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคที่ไม่เหมาะสม

  29. Think Economicand Social Strategy,Think NESDB.... www.nesdb.go.th

More Related