230 likes | 392 Vues
สาขาวิชาสารสนเทศฯ คณะมนุษยศาสตร์ฯ. คณาจารย์ประจำสาขาวิชาฯ. อ.วรุณรัตน์ คนซื่อ ผศ.ชลลดา พงศ์ พัฒน โยธิน ผศ.ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ์ อ.ศิริกาญจน์ โพธิ์เขียว ผศ.จิรา ภรณ์ หนูสวัสดิ์ (ลาศึกษาต่อ). ประเด็นการวิเคราะห์. ด้านการเรียนการสอน ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่. จุดแข็ง.
E N D
สาขาวิชาสารสนเทศฯ คณะมนุษยศาสตร์ฯ
คณาจารย์ประจำสาขาวิชาฯคณาจารย์ประจำสาขาวิชาฯ อ.วรุณรัตน์ คนซื่อ ผศ.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน ผศ.ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ์ อ.ศิริกาญจน์ โพธิ์เขียว ผศ.จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์ (ลาศึกษาต่อ)
ประเด็นการวิเคราะห์ • ด้านการเรียนการสอน • ด้านบุคลากร • ด้านงบประมาณ • ด้านสถานที่
จุดแข็ง • ด้านการเรียนการสอน- จำนวนผู้เรียนน้อยทำให้ผู้สอนสามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง หลากหลายและมีประสิทธิภาพ • ด้านบุคลากร- จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ตามเกณฑ์ มาตรฐาน ของ สกอ.
จุดแข็ง (ต่อ) 3. ด้านงบประมาณ- การบริหารจัดการงบประมาณลงสู่ผู้เรียน อย่างคุ้มค่า 4. ด้านสถานที่ - มีสำนักวิทยบริการฯ เป็นหน่วยงานสนับสนุน การเรียนรู้ และแหล่งฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ
จุดอ่อน • ด้านการเรียนการสอน- หลักสูตรไม่เป็นที่นิยมของผู้เรียน แต่เป็นที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน- สืบเนื่องจากมีงบประมาณน้อย ทำให้สาขาวิชา ไม่สามารถจัดหาหนังสือตำราให้กับนิสิตได้ • ด้านบุคลากร- บุคลากรยังไม่สารถมาพัฒนาศักยภาพให้ทันต่อ ความก้าวหน้าด้าน IT
จุดอ่อน 3. ด้านงบประมาณ- จำนวนผู้เรียนน้อยอาจส่งผลต่อการบริหารจัดการ ด้านงบประมาณในระยะยาว- งบประมาณที่ได้รับอย่างจำกัด ทำให้ไม่สามารถ จัดหาสื่อการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย 4. ด้านสถานที่ - ไม่มีสถานที่เป็นสัดส่วนของสาขาวิชา ยังต้องอาศัย สถานที่ในสำนักวิทยบริการ
โอกาส • ด้านการเรียนการสอน- บัณฑิตมีโอกาสได้งานทำสูง- มีเครือข่ายศิษย์เก่าที่เอื้อต่อการเรียนการสอน • ด้านบุคลากร- อาจารย์ในสาขาวิชาฯ มีโอกาสพัฒนาศักยภาพอย่าง ต่อเนื่อง • ด้านงบประมาณ- ได้รับทุนสนับสนุนจากศิษย์เก่าอย่างต่อเนื่อง • ด้านสถานที่ - ใช้เครือข่ายวิชาชีพเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์แก่ ผู้เรียน
อุปสรรค • ด้านการเรียนการสอน- สื่อการเรียนรู้เฉพาะด้านมีราคาสูง- อุปสรรคด้านภาษาในการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้- ผู้เรียนไม่เข้าใจศาสตร์สาขานี้อย่างแท้จริง- มีศาสตร์สาขาใหม่ที่ใกล้เคียงและน่าสนใจกว่า • ด้านบุคลากร- ในอนาคตบุคลากรด้านบรรณารักษ์อาจขาดแคลน เนื่องจากมีผู้สนใจเรียนน้อย
อุปสรรค (ต่อ) 3. ด้านงบประมาณ- รูปแบบการจัดสรรงบประมาณตามจำนวนผู้เรียน ทำให้เกิดข้อจำกัดในการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอน 4. ด้านสถานที่ - แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพบางแห่ง จำกัดการรับผู้เข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
โอกาส • ด้านการเรียนการสอน- บัณฑิตมีโอกาสได้งานทำสูง- มีเครือข่ายศิษย์เก่าที่เอื้อต่อการเรียนการสอน • ด้านบุคลากร- อาจารย์ในสาขาวิชาฯ มีโอกาสพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง • ด้านงบประมาณ- ได้รับทุนสนับสนุนจากศิษย์เก่าอย่างต่อเนื่อง
โอกาส (ต่อ) 4. ด้านสถานที่ - ใช้เครือข่ายวิชาชีพเป็นแหล่งฝึก ประสบการณ์แก่ผู้เรียน- ใช้สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นห้องปฏิบัติการ และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ภัยคุกคาม • ด้านการเรียนการสอน- หลักสูตรสาขาวิชาอื่นมีความน่าสนใจกว่า- ค่านิยมของผู้เรียน- ความไม่เข้าในเนื้อหาของหลักสูตรของผู้เรียน กับภาวการณ์มีงานทำ- หลักประกันการมีงานทำเมื่อจบการศึกษา • ด้านบุคลากร- งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรไม่เพียงพอ ส่งผลให้บุคลากร ไม่สามารถเข้าร่วม อบรม ประชุม สัมมนา ในโครงการที่มีค่าใช้จ่ายสูง
ภัยคุกคาม (ต่อ) 3. ด้านงบประมาณ- นโยบายการจัดสรรงบประมาณตามรายหัว ผู้เรียนส่งผลกระทบต่อสาขาวิชา เนื่องจาก มีผู้เรียนน้อย 4. ด้านสถานที่ - ไม่มีภัยคุกคาม เนื่องจากมีผู้เรียนน้อย ทำให้สามารถใช้สถานที่ใดๆ ได้อย่างสะดวก ทุกที่ ทุกเวลา
แผนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
แผนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์