1 / 88

โรคไม่ติดต่อ

โรคไม่ติดต่อ. NON Communicable disease. กัณหา เกียรติสุต สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6. คำจำกัดความของโรคไม่ติดต่อ.

chace
Télécharger la présentation

โรคไม่ติดต่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไม่ติดต่อ NON Communicable disease กัณหา เกียรติสุต สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6

  2. คำจำกัดความของโรคไม่ติดต่อคำจำกัดความของโรคไม่ติดต่อ • กลุ่มของความเจ็บป่วยเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะเป็นสาเหตุที่สำคัญของการเจ็บป่วยและการตายของประชาชน และมักมีปัจจัยของการเกิดโรคร่วมกันปัจจัยเสี่ยงของโรคเหล่านี้มักเป็นปัจจัยเสี่ยงที่พบได้บ่อยในหมู่ประชาชนเช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และความเครียด

  3. ลักษณะทั่วไปของโรคไม่ติดต่อลักษณะทั่วไปของโรคไม่ติดต่อ มีระยะการเกิดโรคยาวนาน ระยะการก่อตัวของโรคยาวนาน ระยะก่อโรคไม่ชัดเจน มีสาเหตุจากหลายปัจจัย

  4. ลักษณะทั่วไปของโรคไม่ติดต่อลักษณะทั่วไปของโรคไม่ติดต่อ มีความสัมพันธ์อย่างซับซ้อนระหว่างโรคและ ปัจจัยเสี่ยง มักเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม มีอุบัติการณ์ของโรคต่ำ แต่มีความชุกมาก มักเกิดกับผู้สูงอายุ

  5. การแบ่งกลุ่มโรคตามระยะเวลาและสาเหตุการแบ่งกลุ่มโรคตามระยะเวลาและสาเหตุ

  6. เป้าประสงค์ในการป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง • ลดอุบัติการณ์โดยการป้องกัน • ชะลอการเกิดสูญเสียสุขภาวะ (disability) • ลดความรุนแรงของโรค • และยืด อายุ ปชก.

  7. ดัชนีชี้วัดที่แสดงว่าเป็นปัญหาในชุมชนดัชนีชี้วัดที่แสดงว่าเป็นปัญหาในชุมชน • การตาย: จำนวน/อัตรา แนวโน้ม การพยากรณ์ ฯ • การป่วย : จำนวน/อัตรา ความชุก แนวโน้ม การพยากรณ์ ฯ • ภาระโรค:โรค ภาวะแทรกซ้อน ความพิการ DALYs ค่าใช้จ่าย • ปัจจัยเสี่ยง: ค่าความสัมพันธ์ RR/OR แนวโน้มความชุก

  8. หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับความสำคัญในการกำหนดปัญหาสุขภาพของโรคไม่ติดต่อหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับความสำคัญในการกำหนดปัญหาสุขภาพของโรคไม่ติดต่อ • เป็นสาเหตุหลักของการป่วย พิการ และตายก่อน วัยอันสมควร • เป็นภาระโรคลำดับต้น เมื่อวัดโดยดัชนีวัดภาระโรค (DALYs) • เป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยเรื้อรังที่ไม่สามารถ กลับคืนดีได้ปกติ และต้องการการดูแลรักษาเฉพาะ ทั้งการดูแลติดตาม

  9. หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับความสำคัญในการกำหนดปัญหาสุขภาพของโรคไม่ติดต่อหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับความสำคัญในการกำหนดปัญหาสุขภาพของโรคไม่ติดต่อ • เป็นภาระค่าใช้จ่ายของชุมชน • สามารถควบคุมป้องกันได้ หรือแนวโน้มที่ จะควบคุมได้ • มีปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลายปัจจัย

  10. สถานการณ์โรคและปัจจัยเสี่ยงสถานการณ์โรคและปัจจัยเสี่ยง

  11. แหล่งข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อแหล่งข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อ • NHES 1 พศ. 2534 • NHES 2 พศ. 2540 • รายงานผลการศึกษาภาระโรคในประชากรไทย พศ. 2542 • รายงานสถานะสุขภาพคนไทย พศ. 2543 • Inter ASIA พศ. 2543 • NHES 3 พศ. 2547 • ข้อมูลสถิติสาธารณสุข พศ. 2539 – 2546 • การสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งขาติ

  12. แนวโน้มอัตราตายด้วยอุบัติเหตุจากการขนส่งทางบก ต่อประชากร 100,000 คน พ.ศ. 2530-2545 อัตราต่อประชากร 100,000 คน ปี พ.ศ. (year) Injury

  13. อัตราการตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคหัวใจและหลอดเลือด พ.ศ. 2539-2546

  14. อัตราการตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2539-2546

  15. ผลสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยผลสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547 คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมี HT จำนวน 17.64 ล้านคน = 35.82 % กลุ่มที่มี HT รู้ตัวว่าเป็นเพียง 44.69 % และรับการรักษาอยู่เพียงร้อยละ 32.64 %

  16. อัตราการตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคเบาหวาน พ.ศ. 2539-2546

  17. ผลสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยผลสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547 คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมี DM จำนวน 5.32 ล้านคน = 10.8 % เพิ่มขึ้นจากปี 2540 1.5 เท่า กลุ่มที่มี DM รู้ตัวว่าเป็นเพียง 54.33 % และเข้ารับการรักษาอยู่เพียงร้อยละ 48.54 %

  18. อัตราป่วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญปี 2545-2546

  19. อัตราป่วย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคหัวใจและหลอดเลือด พื้นที่สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  20. อัตราการตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคหัวใจและหลอดเลือด พื้นที่สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  21. อัตราป่วย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคหลอดเลือดสมองใหญ่พื้นที่ สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  22. อัตราป่วย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคหัวใจขาดเลือดพื้นที่ สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  23. อัตราการตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคความดันโลหิตสูง สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  24. อัตราป่วย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคเบาหวาน สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  25. อัตราตาย (ต่อประชากร 100,000 คน) โรคเบาหวาน สคร.ที่ 6 พ.ศ. 2545-2546

  26. คนไทยสูญเสียปี สุขภาวะ 9.5 ล้านปี/ ประชากรแสนคน *การศึกษาภาระโรคในประชากรไทย ปี พศ. 2542

  27. อันดับโรคและภาระโรคของประชากรไทย พ.ศ. 2542 แบ่งตามเพศ

  28. 1. การสูบบุหรี่ 2. การดื่มแอลกอฮอล์ 3. ความดันโลหิตสูง 4. น้ำตาลในเลือดสูง 5. การออกกำลังกายไม่เพียงพอ 6. ภาวะอ้วน 7. การบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย และการบริโภคเกิน (เกลือ, ไขมัน, แคลอรี) 8. ความเครียด ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่

  29. คนไทยสูญเสียปี สุขภาวะเนื่องจากปัจจัยเสี่ยง 4.3 ล้านปี/ ประชากรแสนคน *การศึกษาภาระโรคในประชากรไทย ปี พศ. 2542

  30. อันดับปัจจัยเสี่ยงต่อปัญหาภาระโรคของประชากรไทย พ.ศ. 2542 แบ่งตามเพศ

  31. สถานการณ์การสูบบุหรี่สถานการณ์การสูบบุหรี่ • คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ถึงร้อยละ 24.04 *การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547

  32. สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป เคยดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 60.89 หรือคิดเป็นจำนวน 30 ล้านคน ส่วนผู้ที่ไม่เคยดื่มแอลกอฮอล์เลยตลอดชีวิตมีร้อยละ 39.11 หรือคิดเป็นจำนวน 19.3 ล้านคน *การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547

  33. สถานการณ์การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สมดุล ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน • ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ร้อยละ 50.89 หรือคิดเป็น 25.06 ล้านคน *การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547

  34. ปริมาณการบริโภคน้ำตาลทรายภายในประเทศ พ.ศ. 2526 – 2544 ที่มา : ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

  35. อัตราความชุกโรคอ้วนในประเทศไทย จำแนกตามอายุ พ.ศ. 2529 และ พ.ศ.2538

  36. ปัจจัยเสี่ยง(RISK FACTOR) กลุ่มโรคหัวใจหลอดเลือด HT SMOKING OW,OBESITY PHY. INACT ALCOHOL NUTRITION DIABETES STRESS 1 3 2

  37. Alternative models of extension or compression of morbidity as life year expectency is extended Current situation 76 years 90 years Verbrugge 85 years Fries Life expectency Prevalence of Chronic Condition

  38. Strategic Objective for Chronic disease Control • “ IS TO CHANGE PUBLIC‘S PERCEPTION OF CHRONIC DISEASE AND THEIR COMPLICATIONS FROM ONE OF INEVITABILITY TO ONE OF PREVENTABILITY”

  39. METHOD FOR CHRONIC DISEASE PREVENTION AND CONTROL Prevention Strategy Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention Population’s Disease status Susceptible Asymptomatic Symptomatic Reduce disease incidence Reduce prevalence consequence Reduce Complication disability Effect

  40. public health approaches to NCD control (a) a high risk strategy, targeting persons with high levels of risk factors and employing interventions to reduce them, usually with drugs (b) a population strategy which attempts to reduce riskfactor levels in the whole community, usually through lifestyle related measures (Rose 1985; Rose and Day 1990).

  41. Intervention Strategies • Modify Community Conditions and norms • Establish and Enforce Health Policy • EstablishEconomic Incentive • Enhance Knowledge and Skills • Provide Screening and Follow – Up Services

  42. ยุทธศาสตร์ในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อยุทธศาสตร์ในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 1. การป้องกันโรค (การลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ) 2. การเพิ่มคุณภาพบริการของสถานบริการ 3. การเฝ้าระวังโรค

  43. The principal functions of such a programme (a) to provide information and an enabling environment for increasing awareness and adoption of health living habits by the community; (b) early detection of persons with risk factors and cost-effective interventions for reducing risk;

  44. The principal functions of such a programme (c) early detection of persons with clinical disease and cost-effective care to prevent complications; (d) acute care, utilizing low cost, high yield technologies;

  45. The principal functions of such a programme (e) secondary prevention to reduce risk of the recurrent events; and (f) rehabilitation and palliative care, in cases where disease has resulted in complications or is incurable.

  46. The Basic Principles of Chronic Disease Control Intervention • Comprehensive Approaches that address the economic ,social and political roots of health and sickness have proven to be more effective than traditional education approach

  47. The Basic Principles of Chronic Disease Control Intervention 2. Changes in underlying community norms are another key to widerspread and long-term improvement in health

  48. The Basic Principles of Chronic Disease Control Intervention 3. Community – base approaches that target the whole population will contribute the most to reducing chronic disease mortality

More Related