1 / 100

โรคทางจิตเวชในเด็ก

โรคทางจิตเวชในเด็ก. พญ . รัตนา กาสุ ริย์ กุมารแพทย์ โรงพยาบาลวานรนิวาส. โรคและปัญหาทางจิตเวชเด็ก. ปัญหาพัฒนาการและการเรียนรู้ ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาด้านความสัมพันธ์. โรคทางจิตเวชเด็ก เช่น. ออทิสติก ( Autism ) สติปัญญาบกพร่อง ( Intellectual disability )

chakra
Télécharger la présentation

โรคทางจิตเวชในเด็ก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคทางจิตเวชในเด็ก พญ.รัตนา กาสุริย์ กุมารแพทย์ โรงพยาบาลวานรนิวาส

  2. โรคและปัญหาทางจิตเวชเด็กโรคและปัญหาทางจิตเวชเด็ก • ปัญหาพัฒนาการและการเรียนรู้ • ปัญหาทางอารมณ์ • ปัญหาพฤติกรรม • ปัญหาด้านความสัมพันธ์

  3. โรคทางจิตเวชเด็ก เช่น • ออทิสติก (Autism) • สติปัญญาบกพร่อง (Intellectualdisability) • ซนสมาธิสั้น (ADHD) • ทักษะการเรียนบกพร่อง (LD) • เด็กเกเรก้าวร้าว (Conductdisorder) • โรคซึมเศร้า (Depression) • กลัวการแยกจาก (SeparationAnxietyDisorder)

  4. ปัญหาสุขภาพจิตเด็ก เช่น • ถูกเพื่อนรังแก (Bully) • ขาดความมั่นใจในตนเอง • ดื้อ เอาแต่ใจ • ครอบครัวหย่าร้าง • พี่อิจฉาน้อง (Sibling rivalry) • การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม

  5. Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • ภาษาล่าช้า • พูดช้า • ภาษาพูดแปลกๆ (Neologism) • พูดทวนคำ (Echolalia) • พูดโต้ตอบช้ากว่าวัย • เล่นสมมุติช้ากว่าวัย • พูดแต่เรื่องที่ตนเองสนใจ

  6. Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อย/ผิดปกติ • ไม่สบตา,สบตาช่วงสั้นๆ • เริ่มต้นสนทนาไม่เป็น • ไม่สนใจผู้อื่น • เข้ากับเพื่อนไม่ได้

  7. Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • มีพฤติกรรมหรือความสนใจซ้ำๆ/เปลี่ยนแปลงได้ยาก • กระตุ้นตัวเองซ้ำๆ • ติดของที่ไม่ควรติด,เล่นของที่ไม่ควรเล่น • หมกมุ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นพิเศษ • ทำกิจกรรมเดิมซ้ำๆ เปลี่ยนไม่ได้

  8. Pervasive Developmental Disorder • Autistic Disorder • บกพร่องทั้ง 3 ด้าน • Asperger’s Disorder • ภาษาปกติ ทักษะสังคมบกพร่อง หมกมุ่นบางเรื่องเป็นพิเศษ • Pervasive Developmental Disorder Not otherwise Specified (PDD NOS) • มีบางอาการของ Autism แต่ไม่ครบข้อบ่งชี้

  9. PDD วินิจฉัยอย่างไร • คัดกรอง • PDDSQ • แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 • KUS-SI • ประเมินพัฒนาการ,สติปัญญา • วินิจฉัย • ADOS

  10. PDDSQ • แบบคัดกรองนี้สร้างขึ้นเพื่อค้นหาเด็กที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการในกลุ่มโรค PDDS อายุ 1-18 ปี โดยผู้ปกครองหรือผู้ใกล้ชิดเด็กเป็นผู้ประเมิน • แบบคัดกรอง PDDS พัฒนาจากแบบคัดกรองโรคออทิสซึม และโรคอื่นๆ ในกลุ่ม PDD ได้แก่ แบบคัดกรอง CHAT, CARS, ASQ, ASSQ, PDDST และ SRS • แบบคัดกรองแบ่งเป็น 2 ช่วงอายุ ดังนี้ PDDSQ 1-4 ปี ใช้คัดกรองเด็กอายุ 12-47 เดือน และ PDDSQ 4-18 ปี แต่ละฉบับประกอบด้วยข้อคัดกรอง 40 ข้อ ซึ่งข้อคำถามเหล่านี้ชี้วัดความผิดปกติ 3 ด้าน คือ พัฒนาการทางสังคมผิดปกติพัฒนาการด้านสื่อความหมายผิดปกติ และพฤติกรรมซ้ำซาก สนใจจำกัด และปรับตัวยาก

  11. PDDSQ • 1. เป็นแบบคัดกรองที่ผู้ตอบสามารถอ่าน และตอบด้วยตนเอง โดยเลือกคำตอบที่ใกล้เคียงพฤติกรรมของเด็กมากที่สุด • 2. คำตอบมี 2 ตัวเลือก คือ ใช่/ทำบ่อยๆ และ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 3. การให้คำแนะนำ: ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 4. PDDSQ 1-4 ข้อ 1-5, 11-15, 21-25, 31-35 และ PDDSQ 4-18 ปี ข้อ 1 , 3, 4, 10, 14, 15, 20, 30, 33, 36 ต้องกลับค่าคะแนนดังนี้ ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 5. คะแนนเต็มทั้งฉบับ 40 คะแนน

  12. PDDSQ • การแปลผล • PPDSQ 1-4 ปี ถ้าได้ 13 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น PDDs. • PPDSQ 4-18 ปี ถ้าได้ 18 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น PDDs.

  13. แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี • เป็นแบบคัดกรองที่พัฒนาจาก PDDSQ 1-4 ปี ,เกณฑ์การวินิจฉัยโรคตาม DSM-IV-TR และความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่ทำงานเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาเด็กออทิสติก ปรับลดหัวข้อคำถามให้เหลือเพียง 10 ข้อ • มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาเพื่อนำไปใช้ในหน่วยบริการปฐมภูมิเพื่อใช้คลินิกเด็กสุขภาพดี (well child clinic) • แบบคัดกรองประกอบด้วยหัวข้อคำถามเพียง 10 ข้อ ที่เป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของเด็ก ให้ผู้ปกครองเลือกตอบ ใช่/ทำบ่อย กับ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ ตามพฤติกรรมที่เด็กแสดงออก

  14. แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี • วิธีการใช้เครื่องมือ • ให้ผู้ปกครองเลือกตอบ ใช่/ทำบ่อย หรือ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ ให้ตรงตามพฤติกรรมของเด็กที่แสดงให้มากที่สุด • ให้ผู้ปกครองตอบให้ครบทุกหัวข้อคำถาม • เกณฑ์การให้คะแนน • แบบทดสอบชุดนี้มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้คะแนน 1 คะแนนในหัวข้อคำถามที่ตอบ ใช่/ทำบ่อย • คะแนนจุดตัด (cut-point) เท่ากับ 5 คะแนน หมายความว่าเมื่อรวมคะแนนแบบทดสอบทั้งฉบับแล้วพบว่าได้คะแนนตั้งแต่ 13 คะแนนขึ้นไป แสดงว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นออทิสติก (Autistic disorder)

  15. KUSSI

  16. การช่วยเหลือเด็กออทิสติกการช่วยเหลือเด็กออทิสติก เป้าหมายสำคัญ “ช่วยให้เด็กมีชีวิตเหมือนเด็กปกติให้มากที่สุด”

  17. (ครอบครัว)พ่อ/แม่ ครู (การศึกษา) หมอ (สาธารณสุข)

  18. การช่วยเหลือเด็กออทิสติก ประกอบด้วย • การกระตุ้นพัฒนาการ • ด้านภาษา • ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น • การช่วยเหลือตนเอง • แก้ไขพฤติกรรมที่เป็นปัญหา • การเข้าสังคม

  19. ยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติกยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติก • กลุ่ม Antipsychotic • ซน,อยู่ไม่นิ่ง (ในเด็กเล็ก) • หงุดหงิด,ฉุนเฉียว • พฤติกรรมซ้ำๆ • ยาที่นิยมใช้: Haloperidol,Risperidone, Thioridazine

  20. ยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติกยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติก • Psychostimulant • สำหรับเด็กที่มีอาการ ซน,อยู่ไม่นิ่ง • ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • Anticonvulsant • รักษาอาการชัก,และอาการก้าวร้าว • ยาที่ใช้บ่อย Na Valproate, Carbamazepine

  21. Prognosis • IQ > 70 • พูดได้ก่อน 5 ขวบ • ไม่เป็นโรคลมชัก

  22. การเข้าสังคม • การเข้าโรงเรียน • การเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนได้

  23. เด็กจะเข้าโรงเรียนได้ต่อเมื่อเด็กจะเข้าโรงเรียนได้ต่อเมื่อ • สามารถทำตามคำสั่งได้ • ช่วยเหลือตนเองได้ • ไม่มีปัญหาพฤติกรรมที่รุนแรง

  24. โรคซน/สมาธิสั้น • โรคซนสมาธิสั้นประกอบด้วยกลุ่มอาการหลัก 3 กลุ่ม ได้แก่ • กลุ่มอาการขาดสมาธิ (Attention Deficit) • กลุ่มอาการซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) • กลุ่มอาการวู่วาม หุนหันพลันแล่น (Impulsivity) • เกิดอาการก่อนอายุ 7 ปี • มีอาการอย่างน้อย 2 ที่ • พบได้ประมาณ 5% ของเด็กวัยเรียน

  25. โรคซน/สมาธิสั้น • สาเหตุ • Prefrontal Cortex • การจัดระเบียบ • การวางแผน • สมาธิ • Dorsal anterior cingulate cortex • การหยุดตัวเอง • Basal Ganglia • การเคลื่อนไหว • การเรียนรู้ ความจำ • การหยุดตัวเอง

  26. โรคซน/สมาธิสั้น • สาเหตุ • Dopamine availability • Noradrenergic function

  27. อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการขาดสมาธิ (Attention Deficit) • วอกแวกง่าย • เบื่อง่าย เปลี่ยนความสนใจบ่อย • เหม่อลอย ฝันกลางวัน • ขี้ลืม ทำของหายบ่อย • จัดลำดับความสำคัญไม่เป็น • เฉื่อยชา ผลัดวันประกันพรุ่ง • ทำงานไม่เสร็จ ไม่เรียบร้อย

  28. อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) • ซน อยู่ไม่นิ่ง ยุกยิก ขยับตัวตลอดเวลา • ชอบปีนป่าย เล่นผาดโผน • เล่นเสียงดัง • พูดมาก พูดไม่หยุด

  29. อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการวู่วาม หุนหันพลันแล่น (Impulsivity) • ใจร้อน รอคอยอะไรได้ไม่นาน • ชอบพูดโพล่ง พูดแทรก • ทำอะไรโดยไม่ขออนุญาต • ไม่มีความระมัดระวัง • ไม่สามารถเรียนรู้จากความผิดพลาดได้ • ทำงานลวกๆไม่ตรวจทาน

  30. การวินิจฉัย • คัดกรอง • KUS-SI • Corner Teacher,Parent Rating Scale • SNAP-IV • ซักประวัติ ตรวจร่างกาย • ประวัติจากพ่อแม่ • ประวัติจากโรงเรียน • สังเกตเด็กโดยตรง

  31. แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • คิดค้นโดย James.M.Swanson Ph.D. และคณะ • แปลงเป็นฉบับ ภาษาไทย โดย นพ.ณัธร   • พิทยรัตน์เสถียร และคณะ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (internal consistency) เท่ากับ 0.927

  32. แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • มีจำนวนข้อทั้งหมด 26 ข้อ แบ่งเป็น • ด้านสมาธิ 9 ข้อ • ด้านซน อยู่ไม่นิ่ง/หุนหันพลันแล่น 9 ข้อ • ด้านดื้อ/ต่อต้าน 8 ข้อ

  33. แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • วิธีทดสอบ ผู้ประเมิน เลือกคำตอบที่ตรงกับตัวเด็กมากที่สุด โดยแบ่งเป็น • ไม่เลย = 0 คะแนน • เล็กน้อย = 1 คะแนน • ค่อนข้างมาก = 2 คะแนน • มาก = 3 คะแนน

  34. แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • การแปลผล รวมคะแนนในแต่ละด้าน แล้วหารด้วยจำนวนข้อ • เปรียบเทียบกับ คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน โดยแบ่งเป็น คะแนนเฉลี่ยของผู้ปกครองและของครู • หากคะแนนเฉลี่ยที่ได้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน ให้สงสัยว่าเด็กมีปัญหาในด้านนั้นๆ

  35. สมาธิสั้นเทียม • ไม่มีสมาธิเป็นบางวิชาหรือบางกิจกรรม • อยู่นิ่งได้เมื่อทำกิจกรรมบางอย่าง หรือ อยู่กับบางคน • มีความรับผิดชอบ อดทนรอคอยได้ดี • ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่น • สติปัญญาบกพร่อง • LD • พ่อแม่ตามใจ

  36. การรักษา โรคซน/สมาธิสั้น • การรักษา • การรักษาด้วยยา • การปรับพฤติกรรม • ที่บ้าน • ที่โรงเรียน

  37. การรักษาด้วยยา • Psychostimulant • Methylphenidate Short acting (Ritalin,Rubifen) • Methylphenidate Long acting (CONCERTA) • Selective Norepinephrine Reuptake Inhibitor • Atomoxetine HCL (Strattera)

  38. การรักษาด้วยยา • Antidepressants • Imipramine • Buproprion • Venlafaxine • Clonidine (Catapress) • Antipsychotics • Risperidone (Risperdal)

More Related