1 / 52

บทที่ 6 การออกแบบระบบ (System Design)

บทที่ 6 การออกแบบระบบ (System Design). การออกแบบเอาต์พุต การออกแบบการพิมพ์เอาต์พุต การออกแบบรายงานทางหน้าจอ การออกแบบอินพุต การออกแบบแบบฟอร์ม การออกแบบหน้าจออินพุต. SYSTEM DESIGN การออกแบบระบบ. การออกแบบแฟ้มข้อมูล และ ฐานข้อมูล วัตถุประสงค์ของการออกแบบ การเก็บแฟ้มข้อมูล

Télécharger la présentation

บทที่ 6 การออกแบบระบบ (System Design)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6การออกแบบระบบ (System Design) • การออกแบบเอาต์พุต • การออกแบบการพิมพ์เอาต์พุต • การออกแบบรายงานทางหน้าจอ • การออกแบบอินพุต • การออกแบบแบบฟอร์ม • การออกแบบหน้าจออินพุต

  2. SYSTEM DESIGNการออกแบบระบบ • การออกแบบแฟ้มข้อมูล และ ฐานข้อมูล • วัตถุประสงค์ของการออกแบบ • การเก็บแฟ้มข้อมูล * ประเภทแฟ้มข้อมูล * องค์กรข้อมูล • ฐานข้อมูล

  3. Output Designการออกแบบเอาต์พุต • เอาต์พุต มี 2 แบบ คือ Soft copy และ Hard copy • วัตถุประสงค์ของการออกแบบเอาต์พุต • เพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบ • ออกแบบให้เหมาะกับผู้ใช้ระบบ • ออกเอาต์พุตให้ครบจำนวน • กระจายเอาต์พุตตามแหล่งที่ต้องการ • ออกเอาต์พุตให้ทันต่อเวลา • เลือกวิธีการนำเสนอเอาต์พุต

  4. แนวปฏิบัติการออกแบบรายงานแนวปฏิบัติการออกแบบรายงาน • แนวปฏิบัติ • กำหนดรูปแบบรายงานบน Layout format • กำหนดประเภทข้อมูล ตัวเลข ตัวอักษร อักขระพิเศษ • กำหนดตำแหน่งข้อมูล • ข้อมูลมี 2 แบบ คือ ข้อมูลคงที่ ข้อมูลแปรผัน * ข้อมูลคงที่ หัวรายงาน หัวเรื่อง หัอข้อ * ข้อมูลแปรผัน ตัวอักษร แทนด้วย X ตัวเลขแทนด้วย 9 เช่น XXXXX X__30__X 999,999.99

  5. การเลือก ประเทภ ขนาด และคุณภาพของกระดาษ • คำนึงถึงต้นทุน • คำนึงถึง คุณภาพของกระดาษ • คำนึงถึงการใช้ เช่น มีสำเนา ต้องใช้กระดาษคาร์บอน รายงานประจำปี กระดาษเช็ค • คำนึงถึงขนาดของกระดาษ

  6. ข้อพิจารณาการออกแบบรายงานข้อพิจารณาการออกแบบรายงาน • หน้าที่ของรายงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ โดย • หัวรายงาน บอกผู้ใช้ว่ากำลังอ่านอะไร • หมายเลขหน้า เพิ่มความสะดวกในการอ้างอิง • วันที่ บอกความทันสมัยของข้อมูล • หัวรายการ ชี้ให้เห็น หรือ แยก รายละเอียด ใช้เด่นชัด • กลุ่มข้อมูล แสดงรายละเอียด • การควบคุมยอดการพิมพ์ มี ช่องว่างคั่นอยู่ระหว่างบรรทัด

  7. ข้อพิจารณาการออกแบบรายงานข้อพิจารณาการออกแบบรายงาน • รูปแบบ และ ความสวยงาม เพื่อเพิ่มความจูงใจในการใช้ • การจัดระเบียบในรายงาน ควรเป็นไปตามธรรมเนียมปฏิบัติ ของวัฒนธรรมนั้น เช่น อ่านบน ลง-ล่าง จากซ้ายไปขวา • จุดที่ต้องเน้นอาจใช้สี การเว้นบรรทัด หรือ ขนาดตัวอักษร

  8. การออกแบบรายงานทางจอภาพการออกแบบรายงานทางจอภาพ • การออกแบบหน้าจอ คล้ายรายงาน แต่เป็น Soft copy • เหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องการรายงานแบบไม่กำหนดเวลา หรือ มีความยืดหยุ่น • มีการโต้ตอบกับเครื่อง จึงไม่สะดวกต่อการพกพา • ควบคุมการกระจายรายงานด้วย Password

  9. การออกแบบรายงานทางจอภาพการออกแบบรายงานทางจอภาพ • แนวทางการออกแบบรายงานทางหน้าจอ • หน้าจอต้องมีความเรียบง่าย • การแสดงหน้าจอต้องมีรูปแบบคงที่ (จากจอแรกถึงจอสุดท้าย) • มีความสะดวดในการใช้หน้าจอ (ปุ่ม หรือ คำแนะนำ) • สร้างหน้าจอให้น่าสนใจ

  10. ภาพหน้าจอต้องเรียบง่ายภาพหน้าจอต้องเรียบง่าย การออกแบบรายงานทางจอภาพ ชื่อ สิ้นค้า ราคา/หน่วย รวม นาย ก XXX XXX XXXX XXX XXX XXXX XXX XXX XXXX นาย ข XXX XXX XXXX XXX XXX XXXX XXX XXX XXXX ชื่อ สิ้นค้า ราคา/หน่วย รวม นาย ก XXX XXX XXXX นาย ก XXX XXX XXXX นาย ก XXX XXX XXXX นาย ข XXX XXX XXXX นาย ข XXX XXX XXXX นาย ข XXX XXX XXXX

  11. เลเอาต์รายงานทางจอภาพเลเอาต์รายงานทางจอภาพ • Layout screen ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 XX XX 99.99 XX XX 99.99

  12. เลเอาต์รายงานทางหน้าจอเลเอาต์รายงานทางหน้าจอ • ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย ชื่อรายงาน ชื่อสำนักงาน และ หมายเลขอาณาเขต • ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย หัวเรื่อง รายละเอียด กลุ่มข้อมูล ที่สัมพันธ์ กัน บอกประเภท และ ขนาดของข้อมูล แสดงโดยใช้ สัญลักษณ์ • ส่วนที่ 3 แสดงคำแนะนำ การใช้หน้าจอ (Help Menu Tool bar) ปุ่มหน้าจอย่อย กรณีที่แสดงรายละเอียด ใน 1 หน้าจอ ไม่เพียงพอ

  13. การออกแบบอินพุตINPUT DESIGN • การออกแบบ อินพุต มี ทั้งทางเอกสาร (แบบฟอร์ม) และ หน้าจอ • วัตถุประสงค์ • Effectiveness ก่อให้เกิดผลประโยชน์อย่างแท้จริง คือ ตอบสนอง การจัดการในระบบสารสนเทศอย่างแท้จริง • Accuracy การออกแบบที่ดีทำให้รับข้อมูลได้ถูกครบถ้วน • Easy of use ง่านต่อการใช้ รูปแบบง่ายต่อการเข้าใจ • Consistency ความสม่ำเสมอของรูปแบบ • Simplicity ความเรียบง่ายของรูปแบบ ทำให้ง่ายต่อการติดตาม • Attractive ดึงดูดความสนใจ

  14. การออกแบบอินพุตINPUT DESIGN • การออกแบบ แบบฟอร์ม เป็นสิ่งสำคัญ เพราะ ข้อมูลในแบบฟอร์ม ถูกเปลี่ยนเป็นข้อมูลในการประมวลผล จึงเปรียบเสมือน เครื่องมือ วัดการทำงานของระบบ • แนวทางการออกแบบแบบฟอร์ม • แบบฟอร์มควรง่ายต่อการเติมข้อความ • มั่นใจว่า แบบฟอร์ม ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ออกแบบไว้ • แบบฟอร์มต้องรับข้อมูลที่ถูกต้อง และครบถ้วน • ออกแบบฟอร์มให้น่าสนใจ

  15. การออกแบบแบบฟอร์ม • แนวทางการออกแบบแบบฟอร์ม • แบบฟอร์มง่ายต่อการเติมคำ คือต้องมี * การไหลของฟอร์ม (Form flow) * การแบ่งส่วนในแบบฟอร์ใ (Section of a form) * คำอธิบายที่ดี (Captioning) • การไหลของฟอร์ม • มีการไหลจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา • การไหลของฟอร์มเป็นไปตามธรรมเนียมปฏิบัติ

  16. การออกแบบแบบฟอร์ม • แบ่งแบบฟอร์ม เป็น 7 ส่วน • หัวเรื่อง • คำอธิบายการใช้แบบฟอร์ม • การรับรองอนุมัติ (ลายเซ็นต์) • หมายเหตุ • การแสดงตัวการเข้าถึง เช่น หมายเลขบัตร • ส่วนรายละเอียด หรือ Body • ยอดรวม

  17. การออกแบบแบบฟอร์ม • รูปแบบฟอร์ม Heading Identification Instruction Body Sign Total Comment:

  18. การออกแบบแบบฟอร์ม • แบบฟอร์มตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้เพื่อจัดหาข้อมูลต่างๆไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง แต่มีข้อมูลพื้นฐาน ที่ใช้ร่วมกัน เช่น แบบฟอร์มชำระด้วยบัตรเครดิต มี 3 แบบ ในชุดเดียวกัน โดยแต่ละสำเนา มีรายละเอียดบางส่วนที่ต่างกัน ขณะที่บางส่วน เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ใช้ • แบบฟอร์มต้องรับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน • อัตราการเกิดข้อผิดพลาด เกิดขณะรวบรวมข้อมูล (Data Collection) • มีระบบตรวจสอบภายในแบบฟอร์ม เช่น ยอดรวมในแนวตั้ง และแนวนอน ระดับขั้นกับการจ่ายเงินเดือน

  19. การออกแบบแบบฟอร์ม • การออกแบบฟอร์มให้น่าสนใจ • ใช้เทคนิคช่วยในการกรอกแบบฟอร์มให้ง่ายขึ้น • การจัดช่องว่าง • แบบตัวอักษร • สีสรรที่ใช้

  20. การออกแบบหน้าจออินพุตการออกแบบหน้าจออินพุต • หลักการออกแบบหน้าจออินพุต • หน้าจอรับข้อมูลต้องเรียบง่าย: • เทคนิคการจัดหน้าจอ • การใช้หน้าต่าง (windows) • การนำเสนอหน้าจอมีความคงที่ • มีลักษณะคล้ายเ อกสารต้นฉบับ • การเคลื่อนไหวของหน้าจอ • Scrolling, Call up more detail, On-screen dialog

  21. การออกแบบหน้าจออินพุตการออกแบบหน้าจออินพุต • หน้าจอควรดึงดูดความสนใจ • การกระพริบเคอร์เซอร์ หรือ การกลับพื้นหน้าจอ • การใช้รูปแบบตัวอักษร • การใช้สี • การใช้ Icon

  22. การออกแบบแฟ้มข้อมูล และ ฐานข้อมูลFILE & DATABASE DESIGN • วัตถุประสงค์ • จัดองค์กรข้อมูลให้เป็นระเบียบ • มีข้อมูลบริการแก่ผู้ใช้ • ประกันความถูกต้อง และ ความคงที่ของข้อมูล • ง่ายต่อการบำรุงรักษาแฟ้มข้อมูล

  23. การเก็บแฟ้มข้อมูล • Conventional file ลักษณะการเก็บมีการแยกแฟ้มข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลในที่ต่างๆกัน เช่น แฟ้มประวัติขาย แฟ้มบุคคล หรือ แฟ้มที่มีการเคลื่อนไหวบ่อยๆ แต่ แฟ้มเหล่านี้มีเขตของมูลที่เหมือนกัน หรือ ใช้รวมกัน • Database การเก็บแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันเข้าด้วยกัน เพื่อลดการซ้ำซ้อนของข้อมูล และ ควบคุมการเก็บข้อมูล

  24. Conventional File • สร้างได้ง่าย และ รวดเร็ว • ความสะดวกในการใช้ และความปลอดภัยมีน้อย • การปรับปรุงแก้ไขทำได้ยาก • ระยะเวลาในการประมวลผลทำ ได้ช้า เพราะมีข้อมูลหลายแห่ง • การขยายตัว หรือ การเชื่อมโยงแฟ้มทำได้ยาก

  25. ฐานข้อมูลDatabase • เป็นศูนย์รวมข้อมูล • DBMS: Database Management System เป็นระบบที่อนุญาตให้สร้าง ขยาย และ ปรับปรุงฐานข้อมูล • Database Administrator ผู้ที่คอยดูแล DBMS

  26. ฐานข้อมูลDatabase • วัตถุประสงค์การใช้ฐานข้อมูล • สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน • รักษาความคงที่ และ ความถูกต้องของข้อมูล • มีข้อมูลใช้เสอมทั้ง ปัจจุบัน และ อนาคต • มีการพัฒนาของข้อมูลตามความต้องการใช้ • เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ข้อมูลตามแนวทางของตนเองโดยไม่เกี่ยวกับ การเก็บข้อมูลทางกายภาพ

  27. ข้อดี ความเป็นเอกภาพของข้อมูล สามารถเรียกใช้ข้อมูลได้เสมอ การใช้ฐานข้อมูลไม่จำเป็นต้อง ทราบวิธีการเก็บข้อมูล ข้อเสีย เสี่ยงต่อการสูญหาย Database Administrator มีบทบาทสำคัญมาก การปรับปรุงแต่ละครั้งกินเวลามาก เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่ ต้นทุนสูง การเลือกใช้ฐานข้อมูล

  28. แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูล Data Concepts • การมองสิ่งต่างๆในโลกแห่งความเป็นจริง ให้มาเป็นข้อมูล ลงในแฟ้มข้อมูล • แนวคิด ประกอบด้วย • Reality • Data • Metadata 8-41

  29. Reality, Data, Metadata • Entities • วัตถุประสงค์ หรือ เหตุการณ์ ที่ถูกรวบรวมเป็นข้อมูล อาจเป็น คน สถานที่ สิ่งของ เวลา มาเป็น พนักงานขาย เมือง สินค้า เวลาที่ไฟฟ้าดับ • ความสัมพันธ์ระหว่าง Entities แสดงโดยผัง Entities-Relationship มี 3 แบบ คือ * ONE TO ONE (1:1) * ONE TO MANY (1:M) * MANY TO MANY (M:N) 8-44

  30. ER - DIAGRAM • ONE TO ONE ONE TO MANY MANY TO MANY EMPLOYEE EMPLOYEE SALEPERSON 1 1 M SALE ASSIGN BELONG TO 1 M N DEPARTMENT CITY OFFICE 8-45

  31. Attributes • Attribute • แสดงคุณลักษณะของ Entities เช่น คนงานมี ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ • บางครั้งเรียก attribute ว่า field , Data item • Data item มี ค่าเป็น ตัวเลข ตัวอักษร ความยาว Entities Data item Value Package Width 8125 Hight 16 Length 16 Mailling Address 765 Thapae Rd. 8-46

  32. METADATA • บอกรายละเอียดของข้อมูลใน แฟ้มข้อมูล และ ในฐานข้อมูล • ประกอบด้วย ชื่อ ประเภท ขนาด ของ data item ทุกตัว DATA ITEM VALUE SALEPERSON NUMBER N 4 SALEPERSON NAME A 20 COMPANY NAME A 20 WIDTH N 2 HIGHT N 2 LENGTH N 2 8-49 A อักษร N ตัวเลข D วันที่

  33. ตัวอย่างER- Diagram 8-50

  34. DATA FILEแฟ้มข้อมูล • ประเภทของแฟ้มข้อมูล • Master file • Table file • Transcation file • Work file • Report file 8-51

  35. DATA FILEแฟ้มข้อมูล • องค์กรของแฟ้มข้อมูล • Sequential file • Link list • Hashed file • Index file • Inverted file • Index Sequention Access Method (ISAM / VSAM) 8-52

  36. DATABASEฐานข้อมูล • ฐานข้อมูลเป็นของส่วนกลาง • การใช้ฐานข้อมูลขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้ใช้ • มุมมองของผู้ใช้ เรียกว่า Use Schema 8-53

  37. โครงสร้างฐานข้อมูล • โครงสร้างฐานข้อมูลเกิดจาก Conceptual schema ของผู้ใช้ โดย ผู้ใช้นำรายละเอียดในรายงานที่ต้องการกำหนดข้อมูลทางตรรกะ แล้วแปลงเป็นโครงสร้างทางกายภาพ • โครงสร้างฐานข้อมูลมี 3 แบบ คือ • Hierarchical • Network • Relational 8-55

  38. โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ Hierachical • Hierarchical ประยุกต์ใช้กับความสัมพันธ์ แบบ ONE TO ONE และ ONE TO MANY เท่านั้น ENTITIES COURSE# INSTRUCTOR STUDENT 8-56

  39. โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ NETWORK • Network อนุญาตให้ทุก Entities ที่เป็นโหนดย่อย หรือ โหนด ควบคุม มีจำนวนไม่จำกัด มี ความสัมพันธ์ แบบ mamy to many ENTITY ENTITY LINK LINK LINK LINK ENTITY ENTITY ENTITY 8-57

  40. โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ RELATIONAL • มีลักษณะเป็นตาราง แบบ 2 มิติ ใช้แสดงความสัมพันธ์ ระหว่าง บรรทัด(เรคอร์ด) และ แถว(field) ORDER • ระบบหนึ่งอาจมีหลายตาราง ORDER# NAME ADDRESS CARD# ITEM-PRICE ITEM# TITLE PRICE ITEM-STSTUS ITEM# ORDER# STATUS 8-58

  41. โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ RELATIONAL • การบำรุงรักษาง่ายกว่า Hierarchical • เมื่อใช้ Relational แล้ว เรคอร์ด เรียกว่า Tuple และ Attribute เรียกว่า Domain • การใช้ตารางรวมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องทำการ Normalization ตารางเสียก่อน 8-59

  42. คำศัพท์ใช้ในการNormalization • Realtion หมายถึงตารางแสดงความสัมพันธ์ • Tuple หมายถึงเรคอร์ดในแต่ระบรรทัด • Attribute หมายถึง Entity หรือ field ในแต่ละแถว TUPLE ATTIBUTE 1 ATTRIBUTE 2 ATTRIBUTE 3 ATTRIBUTE 4 TUPLE TUPLE TUPLE 8-60

  43. ประเภทของคีย์ที่ใช้ในการ Normalization • Primary key คือ ฟิลด์ที่เป็นเอกภาพใช้บ่งบอกเรคอร์ด • Non-key attribute หมายถึงฟิลด์ที่ไม่ใช่คีย์ • Partial Dependenceคือข้อมูล แบบ Non-Key ที่ขึ้นตรงต่อ primary key • Transitive Dependence หมายถึงข้อมูล แบบ Non-Keyที่ขึ้นตรง ต่อ ข้อมูลแบบ Non-key • Foreign key หมายถึง attributeของตารางหนึ่งแต่เป็นคีย์ของอีกตาราง • Concatened key 8-61

  44. การเขียนสัญลักษณ์แสดงความสัมพันธ์การเขียนสัญลักษณ์แสดงความสัมพันธ์ • Relation ชื่อของตาราง • วงเล็บ( ) ภายในมีรายชื่อของ attributes • attribute ที่ขีดเส้นใต้ เป็น Primary key • attribute ขีดเส้นใต้ด้วยเส้นประ เป็น Foreign key ORDER (ORDER#,QTY,AMOUNT) Relation คือ ORDER ORDER# คือ Primary key QTY,amount คือ Non-key attributes 8-62

  45. Normalization • วิธีลดความซ้ำซ้อนของโครงสร้าง • เพื่อสะดวก และ ง่ายต่อการบำรุงรักษา 8-63

  46. Normalization • การ Normalization มี 3 ขั้นตอน USER VIEW Step 2: Remove Partial Dependency Step 1: Remove Repeating Group Step 3: Remove Transitive dep UNNORMALIZED RELATIONSHIP SECOND NORMALIZED (2 NF) FIRST NORMALIZED (1 NF) THIRD NORMALIZED (3 NF) 8-64

  47. ตัวอย่างการทำNomalization บริษัท เอ.เอส จำกัด มีรายงานการขายสินค้าดังนี้ มี [1]-[8]ส่วน A.S COMPANY SPRING VALLEY, MIMISOTA [1] SALEPERSON# : 3462 [2] NAME: WATERS [3] SALE AREA :WEST CUST. NUM CUST. NAME WAREHOUS# WAREHOUS SALE [4] [5] [6] LOCATION[7] [8] 18765 DELTA SERVICE 4 FARGE 13540 18830 M.LEVY & SON 3 BISMARCK 10600 8-65

  48. การใช้ ER-Diagram กำหนดเรคอร์ดคีย์ • เขียน ER-diagram กำหนดความสัมพันธ์ของ Entities • แสดง Entity ที่ใช้ เป็น Primary Key 1 M M N Customer Places items order Contains ORDER# Cust-num ITEM# Cust-num 8-66

  49. การใช้ ER-Diagram กำหนดเรคอร์ดคีย์ • ลูกค้า 1 คนมีใบสั่งได้หลายใบ • ใบสั่ง 1 ใบมีสินค้าหลายรายการ • สิ้นค้ารายการหนึ่งอาจปรากฏในใบสั่งได้หลายใบ ORDER 1 ITEM 125 OREDR 2 ITEM 125 8-67

  50. การใช้ ER-Diagram กำหนดเรคอร์ดคีย์ • ONE TO MANY • แฟ้มด้าน Many จะบรรจุ Foreign Key จากแฟ้มด้าน One • ORDER-KEY FILE ORDER# ORDER CUST# ITEM# QTY ITEM# QTY ITEM# QTY ITEM# QTY ITEM# DATE ITEM-MASTER-FILE ITEM# ITEM DESP. ITEM COST ITEM PRICE QTY ON HAND 8-68

More Related