1 / 56

การเจรจา FTA บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การเจรจา FTA บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. สิงหาคม 2547. Outline. ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA FTA คืออะไร ทำไมไทยต้องทำ FTA ไทยได้อะไรจาก FTA ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร ภาครัฐมีการเตรียมการในเรื่อง FTA อย่างไรบ้าง

Télécharger la présentation

การเจรจา FTA บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเจรจา FTA บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม 2547

  2. Outline ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA • FTA คืออะไร • ทำไมไทยต้องทำFTA • ไทยได้อะไรจากFTA • ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • ภาครัฐมีการเตรียมการในเรื่องFTA อย่างไรบ้าง • ความคาดหวัง:ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA • การเตรียมความพร้อมของภาคเอกชน ภาค 2 FTA กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • การประสานนโยบาย • การประสานงานและการมีส่วนร่วม

  3. 1. FTA คืออะไร • เขตการค้าเสรี (Free Trade Area-FTA) ประกอบด้วย • สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะทำการค้ากัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน

  4. 2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การเปิดเจรจาการค้ารอบใหม่ของ WTO หยุดชะงัก • “มังกรตื่นจากหลับไหล” • จีนเข้าเป็นสมาชิกของ WTO ทำให้ประเทศต่างๆ เกิดความหวั่นเกรงต่อศักยภาพด้านการแข่งขันของจีน • ขยายอำนาจทางเศรษฐกิจในอนาคต • ความได้เปรียบจาก • ตลาดบริโภคขนาดใหญ่ • แรงงานราคาถูก รองรับการผลิต • มีศักยภาพในการส่งออกสูง

  5. 2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การทำเขตการค้าเสรีเป็นการให้แต้มต่อ ส่งผลกระทบต่อประเทศที่อยู่นอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้อย่างแข็งขัน

  6. แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น Bilateral FTAs Source : WTO

  7. FTAs/RTAs State of Play • Concluded “New” Agreements (6) • Singapore-New Zealand - Singapore-Japan • Singapore-Australia - Chile-Korea • Singapore-U.S. - Chile-U.S. • Under Negotiation or Negotiations Announced (14) • ASEAN - China - China -Thailand • ASEAN - Japan - Japan - Thailand • U.S. - Australia - Thailand - Australia • Singapore - Canada - Singapore - Mexico • Singapore - Korea - Korea - Mexico • Japan - Mexico - FTAA • Singapore – Chile - New Zealand - Thailand - India • Proposed and Under Discussion (10) • ASEAN +3 - Japan-Korea • U.S.-ASEAN(EAI) - EU-ASEAN (TRETI) • U.S. Andean Community - Mexico-New Zealand • Canada-Andean Community - Thailand – U.S. • U.S. Bahrain - U.S. –Middle East (MEFTA)

  8. 3. ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่ง เท่ากับ ถดถอย • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำFTA • การค้าระหว่างประเทศ มีผลมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • คิดเป็นร้อยละ 56.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (2546) • สถานการณ์แข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกา และอเมริกาใต้ยังได้อยู่ ไทยเสียเปรียบ และเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ ดีกว่ารอรับอย่างเดียว

  9. เป้าหมายด้านเศรษฐกิจของไทย Trade and Investment Hub in Asia Top 20 World Exporter Top 5 Investment Destination in Asia สร้างฐานเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดย Dual track policies

  10. 4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ขยายการค้าสู่ตลาดใหญ่ • เปิดประตูไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ แทนตลาดเดิมที่เริ่มอิ่มตัว • ยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการผลิตของไทย • นักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้น • สร้างพันธมิตรที่จะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจ

  11. เป้าหมายการเจรจา • ผลิตภัณฑ์เกษตร • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์และอุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • สินค้า Electronic Commerce • NTBs • SPS • AD / CVD • RO • TBT • Environment • Others • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพ • ความงาม • บริการธุรกิจ • ขนส่ง / Logistics • ก่อสร้างและออกแบบ • การศึกษา • บริการ • อุตสาหกรรมเกษตร • อุตสาหกรรมแฟชั่น • อุตสาหกรรมยานยนต์ • ICT • บริการ • การลงทุน

  12. เป้าหมายการเจรจาการค้าบริการในเวที FTA Kitchen of the world สินค้า • เกษตร / เกษตรอุตสาหกรรม • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์และอุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน OTOP World Health Service Center บริการ • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพ / สปา / ความงาม • ICT / คอมพิวเตอร์ / • Outsourcing ต่าง ๆ • ขนส่ง / Logistics / ซ่อมบำรุง • ก่อสร้างและออกแบบ • การศึกษา • อื่น ๆ (เช่น บริการที่เกี่ยวเนื่อง • กับการผลิต และพลังงาน ฯลฯ) Detroit of Asia Asia Tourism Capital Thai Trading Firm Transport Hub Asia Tropical Fashion การลงทุน World Hospitality International School • อุตสาหกรรมเกษตร • อุตสาหกรรมแฟชั่น • อุตสาหกรรมยานยนต์ • ICT • บริการ World Graphic Design & Animation Center World Furniture Mart

  13. 5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้ผลิต • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • ต้นทุนการผลิตลดลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้ส่งออก • การขยายตลาดและเพิ่มศักยภาพในการส่งออกสินค้าและบริการ

  14. 5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้นำเข้า • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • สามารถนำเข้าจากแหล่งนำเข้าจากหลายประเทศ • ผู้บริโภค • ซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกลง • เลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายมากขึ้น

  15. 6. ผลกระทบอื่นๆ • ใครเป็นผู้ที่จะเสียประโยชน์ • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเกิดใหม่ที่ต้องการการปกป้องจากรัฐบาล • ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำ และแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ำ • อย่างไรก็ตาม การเปิดเสรีไม่ได้ทำในคราวเดียว ผู้ผลิตยังมีเวลาปรับตัว เช่น เรื่องหางนมกับออสเตรเลีย กว่าจะลดภาษีเหลือ 0% ใช้เวลาถึง 20 ปี • มาตรการรองรับปรับตัว

  16. 7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่สาขาที่ไทยมีความพร้อม และได้เปรียบ • ออกจากธุรกิจที่ไม่มีประสิทธิภาพในการแข่งขันและส่งผลกระทบต่อคนส่วนน้อย หากจำเป็น----รัฐต้องมีมาตรการรองรับที่ชัดเจน • สินค้า • อาหาร (แช่เย็น แช่แข็ง และสำเร็จรูป) • แฟชั่น • เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องประดับ เครื่องหนัง • รถยนต์และชิ้นส่วน

  17. 7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • บริการ • การท่องเที่ยว • ภัตตาคาร โรงแรม การบิน ขนส่งทางอากาศ • การบริการสุขภาพ และ Life Science • โรงพยาบาล การตรวจสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุ สปา การบริการ Long-stay • หมอ พยาบาล ทันตแพทย์ • การวิจัยและพัฒนายา • การก่อสร้าง และออกแบบตกแต่ง • ก่อสร้าง วิศวกรรม สถาปัตยกรรม ออกแบบตกแต่งภายใน ออกแบบเครื่องแต่งกายเครื่องประดับ

  18. 8. การเลือกคู่เจรจาพิจารณาจากอะไรบ้าง • ประเทศที่เป็นตลาดดั้งเดิมของไทย • สหรัฐฯ และญี่ปุ่น : ตลาดส่งออกอันดับหนึ่งและสอง • การขยายตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ • จีน อินเดีย : จำนวนประชากร , แหล่งวัตถุดิบราคาถูก • ประเทศที่เป็นประตูการค้าและการลงทุน สู่ภูมิภาคต่างๆ • บาร์เรน (ตะวันออกกลาง) • เปรู (อเมริกาใต้)

  19. 9. ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • คู่เจรจาของไทย • 8 ประเทศ + 1 กลุ่มเศรษฐกิจ (จีน อินเดีย บาห์เรน ออสเตรเลีย สหรัฐฯ ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เปรู และ BIMST-EC) • เจรจาเสร็จแล้ว 1 ประเทศ : ออสเตรเลีย • เริ่มเจรจา ภายในปี 2547 • สหรัฐฯ • ญี่ปุ่น • นิวซีแลนด์ • ลงนามในกรอบความตกลงฯแล้ว อยู่ระหว่างเจรจารายละเอียด • 5 ประเทศ • จีน • บาห์เรน • อินเดีย • เปรู • BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน)

  20. 8+1 FTA China USA India Japan Bahrain BIMST-EC Peru Australia New Zealand • Total trade with Thailand 43.8% • Include AFTA 62.5%

  21. ก้าวต่อไป Canada Japan China EFTA India USA Bahrain Mexico BIMST-EC Peru S. Africa Australia MERCOSUR New Zealand

  22. FTA Work Plan Jan 04 Apr 04 July 04 Oct 04 Jan 05 Apr 05 July 05 Oct 05 Jan 06 Australia มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2005 China July 04 (goods) 2005 (services) Bahrain Oct 04 New Zealand Nov 04 05-06 USA Japan Dec 04 Peru Nov 04 BIMST-EC Dec 05 India Jan 06

  23. Unilateral : ไทยพร้อมลด ภาษีฝ่ายเดียว (ไทยแข่งขันได้) U การเจรจาสินค้า ทำงาน ร่วมกัน ระหว่าง ภาคเอกชน กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรฯ Reciprocal: ลดภาษีพร้อม กัน 2 ฝ่าย 2004-2007 (ไทยแข่งขันได้) R Normal : ลดภาษีปกติ 2007-2010(ไทยแข่งขันได้ แต่อาจต้องใช้เวลาปรับตัว) N Sensitive : ไม่ต้องการลด ภาษี (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) S Other : ลดภาษี แบบมี เงื่อนไข (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) X X

  24. ปศุสัตว์ X ปลา กุ้ง นม ผัก ผลไม้ แพร์ เชอรี่ ส้ม องุ่น แอปเปิ้ล ส้ม ลูกนัต องุ่น แป้งข้าว สาลี สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  25. ผลิตภัณฑ์ ประมง ปศุสัตว์ แปรรูป X ผัก ผลไม้แปรรูป น้ำส้ม/องุ่น/ แอปเปิ้ล/ สับปะรด น้ำส้ม/องุ่น/ แอปเปิ้ล/ สับปะรด เคมีภัณฑ์ ยา สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  26. พลาสติก หนัง เครื่องหนัง ไม้ และ ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม รองเท้า ส่วนประกอบ รองเท้า สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  27. เซรามิก กระเบื้องปูพื้น ถ้วยชาม แก้ว แก้วได้จากการ หล่อ ดึงหรือเป่า อัญมณี เหล็ก เครื่อง จักรกล เครื่องเกลี่ย/ตี/ อัด/หล่อ สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  28. ส่วน ประกอบ ยานยนต์ ผ้าเบรก เพลา โช้คอัพ คลัตช์ รถแวน ปิกอัพ แทรกเตอร์ รถตู้ รถเมล์ (>10 คน) X รถยนต์ 1500-3000CC สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  29. รถจักร ยานยนต์ (<50 CC) เครื่องใช้ ไฟฟ้า เครื่องทำ น้ำร้อน แอร์ เตาอบ ตู้แช่ เครื่องทำน้ำร้อน โทรทัศน์สี เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ กีฬา สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย ญี่ปุ่น จีน

  30. กรอบท่าทีการเจรจาการบริการใน FTA กรอบใหญ่ แนวทางการเจรจาแต่ละประเทศ จีน • เปิดเสรีอย่างค่อยเป็นค่อยไป (Progressive liberalisation)แต่ไม่มี Exclusion list • ให้ความสำคัญเรื่องกฎระเบียบภายในและอุปสรรค non-tradeต่าง ๆ • ตั้งเป้าหมายบริการที่ไทยจะขอให้เชื่อมโยงกับแนวทาง Global Nicheและเป้าหมายกลุ่มสินค้าและการลงทุน เพื่อสร้าง value chainให้สมบูรณ์ • บริการที่ไทยยื่นขอควรช่วยสร้าง Global-Local Linkageและ Local-to-Local trade สหรัฐฯ อินเดีย ญี่ปุ่น บาห์เรน เปรู ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ BIMST-EC

  31. FTA Approaches: Services FTA Tasks Chapters Schedules of Commitments • One Chapter describing each mode of Supply • Chapter on Cross Border Services • Chapter of Investment\ • Chapter on Movement of natural persons • Special Chapter for some sectors such as • Telecommunications • Financial services • Electronic commerce Negative List Positive List • US Type • Non – Conforming Measures • Sectors • Measures • Sectors to be liberalized • Sectors / Measures to be exempted

  32. Thailand’s ICT Cluster Basic Telecom Voice telephone, Fax Satellite, Mobile phone Data transmission Information/Content Related Information services, EDI, E-mail Computer and Related IT solution services, Software implementations, CRS Audiovisual Related Multimedia services, Direct-to-Home Broadcasting, Cable TV, Radio & TV Broadcasting Supplier Goods IT Equipment Telecom product Broadcasting, transmission, & electronic equip. Computer & office machine Electric cable & wire Network infra. Services R&D Professionals Wholesale & Retail trade Management Related Services Every services Maintenance & repair services Advertising Logistics Transport Education Health Tourism Entertainment IT Consultancy Tourism Financial e-Commerce New services MICT, NECTEC, SIPA, NTC, TOT, CAT

  33. ท่าทีเชิงรุกไทยในการเจรจาเปิดตลาด ICT Services • Japan • ขอความร่วมมือเพื่อพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การฝึกอบรม ฝึกงาน (on the job training) ด้านไอทีระดับสูง, การแลกเปลี่ยนบุคลากรด้านไอทีระหว่างไทยกับอินเดีย , การหาตลาดซอฟต์แวร์ในประเทศที่สาม ,การร่วมมือจัดตั้งเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ในประเทศไทย, การร่วมมือในกิจกรรมด้าน e-government และ e-commerce • ASEAN • เปิดตลาดให้บุคลากรไอที เช่น multimedia specialist , software developer เข้าไปทำงานได้ • อนุญาตให้ไทยเข้าไปลงทุนในกิจกรรมด้าน IT และ value-added Telecom • อนุญาตให้ไทยให้บริการข้ามพรมแดนได้ ในกิจกรรมด้านซอฟแวร์ data processing multimedia และกิจกรรม IT Outsourcing อื่น ๆ • India • ขอความร่วมมือเพื่อพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การฝึกอบรม ฝึกงาน (on the job training) ด้านไอทีระดับสูง, การแลกเปลี่ยนบุคลากรด้านไอทีระหว่างไทยกับอินเดีย , การหาตลาดซอฟต์แวร์ในประเทศที่สาม ,การร่วมมือจัดตั้งเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ในประเทศไทย, การร่วมมือในกิจกรรมด้าน e-government และ e-commerce

  34. สินค้าที่เกี่ยวข้องกับบริการสุขภาพสินค้าที่เกี่ยวข้องกับบริการสุขภาพ Health Services Cluster บริการที่เกี่ยวข้องกับบริการสุขภาพ Para-medic ทันตกรรม วัสดุอุปกรณ์ทันตกรรม กายภาพ บำบัด คลีนิก โรงพยาบาล ยา วิตามิน อุปกรณ์และ เครื่องมือแพทย์ อาหารเสริม ดูแลคนชรา สปา Lab testing R&D Health insurance Life Science นวดบำบัด เสริมสวย ลองสเตย์ นวด ผ่อนคลาย สมุนไพรไทย ตำรับยาพื้นบ้าน เครื่องสำอาง ท่องเที่ยว ที่พัก บริการอาหารและเครื่องดื่ม CORE ACTIVITIES จัดจำหน่าย ร้านขายยา Manufacturing

  35. ท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดด้านสุขภาพท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดด้านสุขภาพ • Japan • ให้คนญี่ปุ่นเดินทางมารักษาพยาบาลในไทยโดยเบิก • ค่าใช้จ่ายจากระบบประกันสุขภาพของรัฐบาลญี่ปุ่นได้ • Japan, US, NZ, Bahrain,India, China • ให้คนไทยเข้าไปจัดตั้งธุรกิจโดยถือหุ้นข้างมากได้ ในธุรกิจสปา นวดแผนไทย เสริมสวย • ให้คนไทยเข้าไปทำงานเป็น spa therapist, หมอนวดแผนไทย ผู้ดูแลเด็กและคนชรา ช่างเสริมสวย ในต่างประเทศได้ • ให้ต่างชาติยอมรับคุณสมบัติของบุคลากรไทย ทั้งในเรื่องวุฒิการศึกษา Licence, Certificate และมาตรฐานฝีมือแรงงานไทย (ยกเว้นอินเดีย) ทุกประเทศ:เปิดตลาดสินค้าสมุนไพรไทย ผลิตภัณฑ์สปา

  36. Construction Cluster Product Supporting Business Core Business General Buildings - Residential buildings - Commercial buildings - Warehouses and Industrial buildings - Universities and Schools - Hospital - Hotels and Restaurants - Entertainment buildings • Professional Services • - Architecture • - Urban planning and Landscape architecture • Engineering • Integrated engineering • Interior design - Pre-erection - Special trade construction - Renting equipment with operator • Other Related Services • - Management and Consulting • - Real estate • Rental and leasing of machinery without operator Construction work for Buildings & Civil engineering Infrastructures - Highways, Streets, Roads, Railways - Airfield runways - Bridges, Tunnels, Subways - Waterways, Harbours, Dams - Pipelines - Communication and Power lines - Mining and Manufacturing - Stadiums and Sport facilities • Suppliers of Construction Factors • - Equipment and Machinery • - Construction and related materials • Electricity, Fuel, Water • Labour of semi and low skills - Assembly and Installation - Completion and Finishing Professional associations / Education institutes / State agencies

  37. Overview on Thailand’s Request Position • ตลาดต่างประเทศสำหรับไทย • เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย • เอเชียใต้: อินเดีย* ศรีลังกา ปากีสถาน บังคลาเทศ เนปาล ภูฎาน • ตะวันออกกลาง: กาตาร์ ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรต คูเวต โอมาน ซาอุดิอารเบีย เยเมน บาห์เรน* • Note: * = FTA with Thailand • แนวทางข้อเรียกร้องของไทย • Mode 3: ขอให้สามารถเข้าไปรับงานจากรัฐ/เอกชนได้โดยไม่มีข้อจำกัด/กีดกันใดๆ เช่น Local partner, • Foreign capital participation, Experience, Licensing • Mode 4: ขอบุคลากรทุกระดับได้แก่ นักธุรกิจ ผู้บริหาร ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง วิศวกร สถาปนิก • หัวหน้าคนงาน และคนงานก่อสร้าง โดยไม่มีข้อจำกัด/กีดกันใดๆเช่น Nationality, • Qualification and Experience, Licensing, Labour market tests • Domestic regulations: ขอ Facilitations, MRA and Government Procurement • Goods:ขอยกเว้นภาษีสำหรับเครื่องจักร/อุปกรณ์ที่ใช้เป็นการชั่วคราว • Goods: ขอลดภาษีสำหรับวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างที่เกี่ยวข้อง

  38. Thailand’s Logistics Cluster ธุรกิจทีเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง กิจกรรมหลัก ผู้ผลิตอุปกรณ์ขนส่ง ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ขนส่ง • รถยนต์ รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือ เครื่องบิน อุปกรณ์ยกขนสินค้า และชิ้นส่วนต่างๆ ผู้ประกอบการลอจิสติกส์ • อู่รถ อู่ต่อและซ่อมเรือ อู่ซ่อมเครื่องบิน • รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือสินค้า เรือโดยสาร เฟอร์รี่ เรือสำราญ สายการบิน บริการจัดส่งเอกสารและพัสดุภัณฑ์ด่วน ตัวแทนเรือ ขนส่งทางท่อ บริการกระจายสินค้า บริการจัดระบบลอจิสติกส์ บรรจุภัณฑ์ ผู้จำหน่ายอุปกรณ์ขนส่ง • บริการบรรจุภัณฑ์ บริการตู้คอนเทนเนอร์ คัดแยกและตรวจสินค้า บริการรหัสสากล • ผู้จำหน่ายรถยนต์และชิ้นส่วน ผู้ให้เช่ายานพาหนะ ผู้ให้เช่าอุปกรณ์ยกขนสินค้า บริการติดตั้งอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ • E-Commerce, Logistics Software, EDI, Computer Reservation System, ผู้ให้บริการระบบข้อมูล ธุรกิจสนับสนุน ผู้ให้บริการขนถ่ายสินค้าและผู้โดยสาร ตัวกลางรวบรวมสินค้าและผู้โดยสาร • สถานีขนส่งผู้โดยสาร สถานีขนส่งสินค้า สถานีรถไฟ ท่าเรือ สถานีตู้สินค้า สนามบิน คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า ห้องเย็น บริการขนถ่ายสินค้า อื่น ๆ • ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ผู้ประกอบ การนำเที่ยว จำหน่ายตั๋วโดยสาร • บริหารสินค้าคงคลัง จัดซื้อ บริการลูกค้า ที่ปรึกษา ชิ้ปปิ้ง ประกันภัยขนส่ง ธนาคาร ตรวจสอบยานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง จัดหาคนประจำเรือ บริการอาหารและเก็บขยะจากยานพาหนะ ฯลฯ อื่น ๆ • สร้างและพัฒนาเส้นทางขนส่ง จัดระบบจราจรและความปลอดภัยการขนส่ง พลังงาน สถาบันสนับสนุนเครือข่ายวิสาหกิจลอจิสติกส์ สถาบันการศึกษา และฝึกอบรม สถาบันและสมาคม ผู้ประกอบการต่าง ๆ • หน่วยงานรัฐ • คมนาคม, พาณิชย์, อุตสาหกรรม, คลัง, ศึกษาธิการ, พลังงาน, เทคโนโลยีฯ, มหาดไทย, ต่างประเทศ, สภาพัฒน์, สำนักงานตำรวจฯ

  39. ท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดที่เกี่ยวข้องกับลอจิสติกส์ท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดที่เกี่ยวข้องกับลอจิสติกส์ • Japan & USA • ให้คนไทยทำงานเป็นคนประจำเรือ และช่างซ่อมบำรุงรถยนต์ • USA • ให้คนไทยถือหุ้นข้างมากในธุรกิจซ่อมบำรุงรถยนต์ จำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ • BIMST-EC, China, India & USA • ให้คนไทยถือหุ้นข้างมากและเป็นผู้บริหารหลักในธุรกิจศูนย์กระจายสินค้า • China • ให้คนไทยถือหุ้นข้างมากและเป็นผู้บริหารหลักในธุรกิจขนส่ง ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ลอจิสติกส์ สถานีตู้สินค้า ขนถ่ายสินค้า รถทัวร์ ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ตัวแทนเรือ • ทุกประเทศ • เปิดตลาดการนำเข้าสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนจากไทย

  40. Thailand’s Tourism Cluster ธุรกิจเกี่ยวกับสินค้า กิจกรรมหลัก ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง • ของที่ระลึก • สินค้า OTOP • ผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหาร • เสื้อผ้า ฯลฯ • โรงแรม • ภัตตาคาร • บริษัททัวร์และมัคคุเทศก์ ขนส่ง • รถบัส รถไฟ สายการบิน รถเช่า • เรือโดยสาร เรือเฟอร์รี่ เรือสำราญ เทคโนโลยีสารสนเทศ • การจองที่พัก การเดินทางท่องเที่ยว และ • ตั๋วเครื่องบินทาง internet • การโฆษณา/ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว • ร้านอาหาร/โรงแรม ทาง internet การศึกษา จัดจำหน่าย • โรงเรียนสอนทำอาหารไทย • โรงเรียนสอนนวดแผนไทย • โรงเรียนสอนรำไทย ศิลปะไทย • ผู้แทนจัดจำหน่าย ค้าปลีก ค้าส่ง • ผลิตภัณฑ์เกษตร เครื่องอุปโภคบริโภค • แฟรนไชด์ร้านอาหารไทย สุขภาพ ก่อสร้าง นันทนาการ วัฒนธรรมและกีฬา • การรักษาพยาบาล • ตรวจสุขภาพ • ก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซม และตกแต่ง • โรงแรม ร้านอาหาร • สวนสนุก อุทยาน พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ • การแข่งขันกีฬาต่างๆ เช่น กอล์ฟ รถแข่ง • ธุรกิจบันเทิง บริการอื่นๆ • เสริมความงาม • สปา • นวดแผนไทย การเงิน • การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

  41. ท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดบริการสาขาท่องเที่ยวท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดบริการสาขาท่องเที่ยว • บาห์เรน • ยกเลิกการกำหนดโควตาโรงแรม 4 และ 5 ดาว • ยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าไปจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการบำรุงรักษา ซ่อมแซมและปรับปรุง โรงแรมและร้านอาหาร • ทุกประเทศ (ยกเว้น เปรู) • ให้ recognize คุณสมบัติ ใบรับรอง ประสบการณ์ของพ่อครัว /พนักงานบริการอาหาร และเครื่องดื่ม • อนุญาตการเข้าไปให้บริการของ contractual service supplier ด้านการจัดการโรงแรม • อินเดีย นิวซีแลนด์ บาห์เรน • ยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าไปจัดตั้งธุรกิจร้านอาหาร • สหรัฐฯ • ขอโควตาพ่อครัวไทย • จีน • ยกเลิกการกำหนดเงื่อนไขเรื่องผลตอบแทนประจำปีของบริษัทต่างชาติที่จะเข้าร่วมทุนกับจีน และขยายจำนวนเขตที่พักตากอากาศและเมืองที่จะเข้าไปจัดตั้งบริษัททัวร์ • เปรู • เน้นความร่วมมือด้านท่องเที่ยว

  42. Thailand’s Distribution Cluster ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ธุรกิจสนับสนุน กิจกรรมหลัก Logistics, professional,IT ผู้ประกอบการสาขาการจัดจำหน่าย บริการธุรกิจ • อาทิ cargo-handing services, storage, and warehouse services, freight transport agency, Interior design E-Commerce, Logistics Software และอื่นๆ • Commission agents’ services • Wholesale trade services • Retail trade services • Franchise • Distribution Management consulting services บริการตรวจวิเคราะห์มาตรฐานสินค้า ปั้มน้ำมัน บริการซ่อมบำรุงสินค้าและผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ร้านค้าเทปเพลงและภาพยนตร์ ซื้อขายแลกเปลี่ยนรถยนต์ ร้านถ่ายรูป ร้านขายหนังสือ ท่องเที่ยว ธุรกิจที่เกี่ยวกับสินค้า • ร้านอาหาร โรงแรม ร้านค้าของที่ระลึก ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับแฟรนไชส์ ผู้นำเข้า/ผู้ส่งออก บริการสุขภาพ • ร้านอาหาร ร้านเครื่องดื่ม ร้านสะดวกซื้อ ศูนย์ความงาม ศูนย์หนังสือ บริการซ่อมบำรุง ดูแลบ้าน ที่ปรึกษากฎหมาย การเงินและบัญชี แหล่งบันเทิง ศูนย์ซ่อมเครื่องใช้ บริการทำความสะอาด จำหน่ายอาหารสัตว์ บริการด้านท่องเที่ยว ธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ ศูนย์จำหน่ายของฝากของที่ระลึก ร้านค้าสินค้าท้องถิ่น ศูนย์จัดส่งผู้ดูแลเด็ก/คนชรา และแม่บ้าน ร้านเครื่องประดับ ร้านเสื้อผ้าสำเร็จรูป คาร์แคร์ สถาบันฝึกอบรม • สินค้าไทยผลิตโดยคนไทย • สินค้าทำในไทยได้จาก FDI • โรงพยาบาล ร้านขายยา ร้านค้ายาแผนโบราณและสมุนไพร คลินิกสุขภาพ สปาและเสริมสวย ผู้ผลิตสินค้า นันทนาการ/โสตทัศนะ/IT • สินค้า OTOP สินค้าตกแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์ ของเด็กเล่น สิ่งทอ เครื่องหนัง ผลิตภัณฑ์อาหารไทย ชิ้นส่วนรถยนต์,คอมพิวเตอร์,อิเลคทรอนิคส์ ของใช้ภายในบ้าน hardware สินค้าอุตสาหกรรมอื่นๆ • สนุก โรงหนัง ตู้เกม ศูนย์สินค้าไอที สาธารณูปโภค/สิ่งแวดล้อม • ถนนการจัดการจราจรและรักษาความ ปลอดภัย water-treatment เกษตรกร Non-services • สินค้าเกษตร • อุตสาหกรรมการผลิต การเกษตร และประมง

  43. ท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดสาขาการจัดจำหน่ายท่าทีไทยในการเจรจาเปิดตลาดสาขาการจัดจำหน่าย • Japan • ร้านค้าปลีกสินค้า Hand made /สินค้าท้องถิ่นไทย และแฟรนไชส์ • USA • ร้านค้าสะดวกซื้อ/ grocery รวมถึงสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตร และแฟรนไชส์ ร้านอุปกรณ์รถยนต์และตกแต่ง • BIMST-EC, India • commission agent ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านสะดวกซื้อ • China • Importer trading firms commission agent wholesale ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซื้อ • New Zealand, Peru • commission agent ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านสะดวกซื้อ/ grocery ร้านอุปกรณ์รถยนต์และตกแต่งรถยนต์

  44. การบริหารการเจรจา ครม. / กนศ. Inputs จาก Stakeholders ส่วนราชการ เอกชน นักวิชาการ นักการเมือง สื่อมวลชน คณะทำงานประสานยุทธศาสตร์ • ระดับเจ้าหน้าที่ • หัวหน้าคณะเจรจา (Chief Negotiator) • หัวหน้าทีมเจรจา ราย issue Lobbyist TTR, กต. พณ. สมาชิกสภา • Outreach Programme • รัฐสภา • NGOs • สาธารณชนทั่วไป

  45. 10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • เร่งมือเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป • กระแสลมของการเปลี่ยนแปลงพัดแรงขึ้นทุกวัน • ไม่เร็วเกินไป เมื่อดูจากกระแสการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลกยุค “ฟ้าบ่กั้น” (Globalization) ที่มีการจับคู่เศรษฐกิจการค้า และการรวมกลุ่มการค้า เช่น FTAA EU • ถ้ารอช้ากว่านี้ อาจจะเสียมากกว่าได้: จีนกำลังเจรจากับออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ จะเจรจากับจีน อินเดีย

  46. 10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • การทำ FTA ครอบคลุมทุกสินค้า แต่ไม่ได้หมายถึงต้องเปิดพร้อมกันทุกรายการสินค้า/สาขาบริการ • กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน • กลุ่มที่ไม่พร้อมก็เก็บไว้ • อะไรง่ายทำก่อน อะไรยากทำทีหลัง • ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อมกลุ่มที่ยาก ในระหว่างนั้น

  47. 11. ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมในเรื่อง FTA อย่างไร

  48. ทีม FTA คณะรัฐมนตรี กนศ. คณะเจรจา คณะทำงาน ประสานยุทธศาสตร์ และนโยบายการ เจรจาการค้า ระหว่างประเทศ (ที่ปรึกษารองนายกฯ) (สมพล เกียรติไพบูลย์) คณะทำงาน ติดตามผลการเจรจา (ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี) Australia&NZ การุณ กิตติสถาพร อภิรดี ตันตราภรณ์ Bahrain China สมพล เกียรติไพบูลย์ India & BIMSTEC ปานปรีย์ พหิทธานุกร Japan พิศาล มาณวพัฒน์ Peru กันตธีร์ ศุภมงคล US นิตย์ พิบูลสงคราม

  49. คณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศคณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ การเปิดตลาดสินค้า กระทรวงพาณิชย์ แหล่งกำเนิดสินค้า กระทรวงการคลัง การลด/เลิกอุปสรรคทางการค้า - มาตรฐานสุขอนามัย - มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงอุตสาหกรรม การค้าบริการ กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การลงทุน BOI ทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา E-commerce กระทรวง ICT

  50. การหารือโดยกรมเจรจาฯ สำหรับทุกFTA กรมเจรจาฯ+ หน่วยงาน สภาอุต+สภาหอ+สมาคม ภาคเอกชน+จัดสภาอุต+สภาหอ+ ประมงและผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เกษตร เกษตร เครื่องใช้ไฟฟ้าและอีเล็กทอนิกส์ อัญญมณีและเครื่องประดับ สิ่งทอ สิ่งทอ + ยานยนต์+ชิ้นส่วน ข้าวและผลิตภัณฑ์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม รองเท้า เครื่องหนัง เครื่องใช้เดินทาง หินอ่อน+แกรนิต ใบยาสูบ เครื่องนุ่งห่ม ชิ้นส่วนยานยนต์และอาหลั่ย เยื่อกระดาษ น้ำตาลและกากน้ำตาล เหล็ก+ผลิตภัณฑ์ เครื่องหนัง ยางพารา เครื่องจักรและโลหะการ อัญญมณี+เครื่องประดับ เฟอร์นิเจอร์ เซรามิค มันสำประหลัง แก้วและกระจก เคมีภัณฑ์และพลาสติก(รวมยา) ปศุสัตว์ การพิมพ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหารทะเล อิเล็คทรอนิกส์ อุตสาหกรรม พลาสติก ชา กาแฟ ปิโตเคมี ไหม เคมีภัณฑ์ ไม้ดอก ไม้ประดับ เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน ของเล่น

More Related