1 / 25

นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 7 กรกฎาคม 2554. บทบาท ภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจ. 1. นโยบายการคลัง 1.1 ฐานะการคลัง 1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาลใหม่

Télécharger la présentation

นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจนโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 7 กรกฎาคม 2554

  2. บทบาทภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจบทบาทภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจ 1. นโยบายการคลัง 1.1 ฐานะการคลัง 1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาลใหม่ 1.3 สิทธิประโยชน์ทางภาษี BOI 2. นโยบายการเงิน 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  3. 1. นโยบายการคลัง

  4. 1.1 ฐานะการคลัง

  5. กรอบวงเงินงบประมาณ e: ตัวเลขเบื้องต้น

  6. นโยบายขาดดุลต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจนโยบายขาดดุลต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจ

  7. สัดส่วนรายจ่าย

  8. สัดส่วน Debt/DGP ของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำ

  9. 1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่

  10. 1.3 สิทธิประโยชน์ทางภาษี BOI

  11. อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศไทยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศไทย หมายเหตุ : * มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ (ยกเว้นเงินค่าลงทะเบียน หรือค่าบำรุงที่ได้รับจากสมาชิก หรือเงิน หรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการรับบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา) เก็บภาษีร้อยละ 10 ยกเว้นรายได้ส่วนที่เป็นเงินได้ พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เก็บร้อยละ 2 **บริษัทต่างประเทศที่ไม่ได้ประกอบกิจการในประเทศไทยที่ได้รับเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย เก็บภาษีร้อยละ 15 ยกเว้นเงินได้ที่เป็นเงินปันผล เก็บภาษีร้อยละ 10 กรณีบริษัทที่จัดตั้งตามกฎหมายไทยจำหน่ายเงินกำไรออกจากประเทศ เก็บภาษีร้อยละ 10

  12. นโยบายภาษีเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) • 1.หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ R&D • ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ: • หักค่าสึกหรอร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน • เสียภาษีลดลงในปีแรก ซึ่งเป็ฯการช่วยเพิ่มงนหมุนเวียน (cash flow) • 2. ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ของบริษัท และห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นจำนวนร้อยละ 10 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าจ้างสำหรับ R&D ตามที่กำหนด • ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ: • ผู้ประกอบการสามารถหักรายจ่ายสำหรับค่าจ้าง เพื่อ R&D ได้ตามปกติและยังได้รับการยกเว้นเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่าย R&D

  13. Import duty reductions or exemptions on machinery and raw materials Corporate income tax holidays up to 8 years Additional 50% reductions of corporate income tax for 5 years Double deduction of public utility costs Deductions for infrastructure construction/installation costs สิทธิประโยชน์ BOI Tax Incentives Non Tax Incentives • Land ownership rights for foreign investors • Permission to bring in foreign experts and technicians • Work permit & visa facilitation • One-Stop-Shop: Visas & Work Permits are issued in 3 hours Source: Thailand Board of Investment

  14. BOI Zoning and Incentives Corporate Income Tax Exemption Zone-Based Incentives: • Zone 1 • Zone 2 • Zone 3 Lower incentives Higher incentives * นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉะบังและระยองได้รับ 8 ปี Source: Thailand Board of Investment

  15. 2. นโยบายการเงิน

  16. Inflation Targeting Monetary Policy Core inflation targeting within the range of 0.5-3.0 Core inflation targeting within the range of 0-3.5

  17. 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  18. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC) ASEAN (Associationof South East Asian Nations) 1967(2510) ก่อตั้งASEAN 1967(2510)ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ 1984(2527) ขยายสมาชิก บรูไน 1995(2538) ขยายสมาชิก เวียดนาม 1997(2540) ขยายสมาชิก ลาว พม่า 1999(2542) ขยายสมาชิก กัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่ ASEANEconomicCommunityภายในปี 2015(2558) ASEAN - 6 CLMV

  19. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี AEC นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน

  20. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC ) ตัวอย่าง แผนงานในพิมพ์เขียว AEC : การลดภาษีนำเข้าสินค้า - แก้ไขปรับปรุง AFTA CEPT ให้เป็น ความตกลงสินค้าสมบูรณ์แบบ (ATIGA: ASEAN Trade In Goods Agreement) - ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียนเป็น 0% CLMVลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียนเป็น 0% 1 ม.ค. 2010 1 ม.ค. 2015 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ภาษีสุดท้ายเป็นร้อยละ 20 สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  21. โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการความร่วมมือระหว่าง วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพิ่มความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความจำเป็นของการเข้าสู่ AEC 2. เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ SMEs ภาคการผลิตใน 30 รายสาขา (10 คลัสเตอร์) และ 5 ภูมิภาค (10 จังหวัด) 3. จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนให้แก่ภาครัฐ

  22. โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) แผนการดำเนินการ จัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) ใน 30 กลุ่มอุตสาหกรรมที่เป็น SMEs (10 คลัสเตอร์) และ 5 ภูมิภาค (10 จังหวัด)โดยมีเป้าหมาย 1,000 ราย เพื่อเก็บข้อมูลในการวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ อาทิ ผลกระทบทั้งด้านบวกและลบ รวมไปถึงความท้าทายและโอกาสของผู้ประกอบการเป็นต้น

  23. ขอบคุณครับ

More Related