1 / 31

คุณครู กมลวรรณ คงเกตุ “ครูดาว”

คุณครู กมลวรรณ คงเกตุ “ครูดาว”. การสร้างสรรค์งานภาพกราฟิกด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 7.0 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553. MR.Jirot Jewyam B.SC. (Computer Science). สาระการเรียนรู้. ความรู้เบื้องต้นก่อนการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับรูปภาพ

cher
Télécharger la présentation

คุณครู กมลวรรณ คงเกตุ “ครูดาว”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คุณครู กมลวรรณ คงเกตุ “ครูดาว”

  2. การสร้างสรรค์งานภาพกราฟิกด้วยโปรแกรมการสร้างสรรค์งานภาพกราฟิกด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 7.0 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553 MR.JirotJewyam B.SC. (Computer Science)

  3. สาระการเรียนรู้ • ความรู้เบื้องต้นก่อนการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop • พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับรูปภาพ • การเลือกใช้งานภาพจากแหล่งต่าง ๆ • โหมดสี • ไฟล์กราฟิกและการบันทึกภาพ • การวาดภาพ (Painting) • การเลือก (Selection) • การใช้ฟิลเตอร์ (Filter) • การรีทัช (Retouch) • การสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ

  4. บทที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นก่อนการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop 7.0

  5. งานที่นักเรียนต้องส่งครูหลังจากเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว...งานที่นักเรียนต้องส่งครูหลังจากเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว... การสร้างการ์ดอวยพรในโอกาสต่าง ๆ การ์ดอวยพรวันเกิด การ์ดอวยพรวันปีใหม่ การ์ดอวยพร วันพ่อ/วันแม่ การ์อวยพรวันวาเลนไทม์ การ์ดเด็กดี (เรื่องราวดี ๆ ที่อยากจะถ่ายทอดให้ผู้อื่นรับรู้หรือคำมั่นสัญญาที่ตั้งใจจะให้ไว้ต่อผู้มีพระคุณ เช่น คุณพ่อ คุณแม่ คุณครู เป็นต้น)

  6. ข้อคิดก่อนการใช้งานโปรแกรมข้อคิดก่อนการใช้งานโปรแกรม • โปรแกรมนี้ไม่สามารถสร้างภาพสวย ๆ ได้ด้วยตนเอง หากแต่เป็นเพียงเครื่องมือสำหรับผู้มีใจรักงานศิลปะ (ถ้าไม่เก่งศิลปะก็อาจสร้างสรรค์ผลงานได้ไม่สวย) • ถึงแม้จะใช้โปรแกรมเป็น แต่ไม่ทราบเทคนิคการดึงความสามารถของโปรแกรมออกมาใช้ ก็อาจจะสร้างภาพไม่ได้ดังใจ • การศึกษาโปรแกรมไม่ใช่จบแค่ใช้เป็นเท่านั้น แต่ต้องประยุกต์ใช้เป็นด้วย • แนวทางการประกอบอาชีพสำหรับนักออกแบบกราฟิก • งานออกแบบและประชาสัมพันธ์ • งานโทรทัศน์ • งานพิมพ์ • ฯลฯ

  7. รู้จักกับ Adobe Photoshop • โปรแกรม Adobe Photoshop ผลิตโดย บริษัท Adobe System incorporated ประเทศ U.S.A. • เป็นโปรแกรมด้านกราฟิกที่มีความสามารถในด้านต่าง ๆ เช่น - การตกแต่งภาพถ่าย (Retouch) - การสร้างภาพกราฟิก (Graphics) - การสร้างตัวอักษร (Type) - งานด้านสิ่งพิมพ์ (Publishing) - งานด้านอินเตอร์เน็ต (Web Graphics)

  8. ภาพในคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาได้อย่างไรภาพในคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาได้อย่างไร Pixel คือ ส่วนหนึ่ง(จุดสี)ที่เล็กที่สุดของภาพดิจิตอล เป็นส่วนของการแสดงผลภาพบนสื่อดิจิตอลที่มาจากสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ Pixel จึงเป็นสิ่งที่บอกความละเอียดของภาพ (Resolution)

  9. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม • แถบคำสั่ง (Menu Bar) คือ แถบที่รวบรวมคำสั่งหลักทุกคำสั่งในการใช้งานโปรแกรม • แถบกำหนดรูปแบบของเครื่องมือ (Tool Option Bar) คือ แถบตัวเลือกของเครื่องมือจะปรากฏขึ้นมาเมื่อเลือกใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งในกล่องเครื่องมือ (Toolbox) เพื่อความสะดวกในการใช้งาน • กล่องเครื่องมือ (Toolbox) คือกล่องเก็บเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำงาน • พาเลท (Palette) คือ หน้าต่างรวบรวมคุณสมบัติการทำงานของเครื่องมือ • แถบสถานะ (Status Bar) ใช้แสดงสถานะการทำงานของโปรแกรม

  10. Menu Bar Tool Option Bar Tool Box Palette Status Bar

  11. หลักการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น (ภาคปฏิบัติ) - การเข้าและออกจากโปรแกรม - การเริ่มทำงาน/พื่นที่การทำงาน - การทดลองใช้งานเครื่องมือพื้นฐาน - การบันทึกไฟล์กราฟิกเพื่อใช้งาน

  12. แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับรูปภาพ

  13. ชนิดของรูปภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของการจัดเก็บ ได้ 2 ชนิด คือ 1. ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector Image) - เป็นภาพที่เกิดมาจาก เส้นตรง เส้นโค้ง และสีต่าง ๆ (เกิดจากการคำนวนสมการทางคณิตศาสตร์) - ขยายภาพแล้วไม่แตก - ใช้สำหรับงานที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น การสร้างโลโก้ งานภาพสามมิติ เป็นต้น - ใช้โปรแกรม Adobe Illustrator , Macromedia Freehand , Corel Draw เป็นต้น

  14. 2. ภาพแบบบิตแมป (Bitmap Image) หรือ ภาพแบบราสเตอร์ (Raster Image) - เป็นภาพที่เกิดจากเม็ดสีเล็ก ๆ (Pixel) ประกอบขึ้นมาเป็นภาพใหญ่ ๆ - ขยายภาพมาก ๆ แล้วภาพจะแตก - ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop , Paintshop Pro , Corel Photo paint เป็นต้น

  15. ชนิดของรูปภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดของรูปภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Vector Image Bitmap Image

  16. รู้จักกับ Pixel,Dot และ Resolution Pixel -ภาพแบบบิตแมปประกอบไปด้วยจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “Pixel” • จุดหนึ่งจะถูกระบายด้วยสีหนึ่งสี • เมื่อนำจุดสีเหล่านั้นมาต่อกันจะได้รูปภาพตามต้องการ ดังนั้น ถ้าจุดพิกเซลมีขนาดเล็กมากเท่าไรภาพก็จะมีความละเอียดมากขึ้นเท่านั้น Dot • จุดสีที่เกิดจากการนำภาพออกจากเครื่องพิมพ์ (printer) เราเรียกจุดสีเล็ก ๆ เหล่านั้นว่า “ Dot” Resolution - คือ ความละเอียดของภาพ

  17. ทำไมเราต้องกำหนดค่า Resolution ในการทำงานนั้นจะต้องอ้างอิงถึงค่า   Resolution     อยู่เสมอเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งานประเภทต่าง ๆ นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับขนาดไฟล์งานอีกด้วย เพราะงานที่มีค่า   Resolution      สูงก็จะมีขนาดของไฟล์ใหญ่ขึ้นตามไปด้วย ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการทำงาน เช่น ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณประมวณผลช้าลงในกรณีที่สเปคเครื่องไม่สูงนัก หน่วยของ  Resolutionที่ใช้กันอยู่   2 แบบคือ 1. pixels/inch - จำนวนหรือปริมาณของเม็ดสี   ในพื้นที่ 1 ตารางนิ้ว 2. pixels/cm   - จำนวนหรือปริมาณของเม็ดสี   ในพื้นที่ 1 ตารางเซ็นติเมตร ค่า    Resolution ที่เรานิยมใช้คือ  จำนวนพิเซลต่อนิ้ว หรือ  pixels/inch ( ppi )* * (ppi) ย่อมาจาก pixel per inch

  18. ความสัมพันธ์ระหว่าง Resolution และ Pixel Resolution คือ ค่าความละเอียดของภาพ ๆ หนึ่งซึ่งกำหนดเป็นจำนวนเม็ดสี (pixels) ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของภาพ เช่น หากภาพนั้นมีค่า Resolution = 150 pixels/inches แสดงว่าในพื้นที่ 1 ตารางนิ้วของภาพนั้นประกอบไปด้วยเม็ดสีจำนวน 150 สี (Pixels) เป็นต้น  ภาพที่มีความละเอียด Resolution ต่ำ    (มีจำนวนเม็ดสีน้อย) ภาพที่มีความละเอียด Resolution สูง (มีจำนวนเม็ดสีมากกว่าในขณะที่มีพื้นที่เท่ากัน)

  19. ภาพขยายเพื่อเปรียบเทียบความละเอียดของภาพภาพขยายเพื่อเปรียบเทียบความละเอียดของภาพ Resolution = 300 ppi Resolution = 72 ppi

  20. บทที่ 3 เรื่อง การใช้งานภาพจากแหล่งต่าง ๆ

  21. บทที่ 4 เรื่อง โหมดสี

  22. ทฤษฎีของสีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 4 โมเดล 1.โมเดลสีแบบ RGB RGBย่อมาจาก red, green และ blue คือ กระบวนการผสมสีจาก แม่สี 3 สี คือ สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน เหมาะสำหรับการนำไปใช้ในจอภาพที่เรามองเห็น

  23. 2.โมเดลสีแบบ CMYK CMYK หมามยถึง Cyan (ฟ้าอมเขียว) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) Key/Black (ดำ) เหมาะสำหรับการนำไปใช้ในเครื่องพิมพ์เพื่อนำไปใช้งาน

  24. 3.โมเดลสีแบบ HSB HSB ย่อมาจาก Hue หมายถึง สีต่าง ๆ Saturation หมายถึง ความสดของสี Brightness หมายถึง ความสว่างของสี เหมาะสำหรับการจำลองภาพที่สมจริงกับสิ่งที่ตามองเห็น แต่พิมพ์ออกมาไม่ดี

  25. 4.โมเดลสีแบบ LAB เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ L ย่อมาจาก Luminance หมายถึง เป็นการกำหนดความสว่าง  A เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง B เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้ำเงินไปเหลือง

  26. ประเด็นอภิปราย • นักเรียนคิดว่าโหมดสีมีประโยชน์อย่างไรกับการสร้างภาพกราฟิก ?

More Related