1 / 250

“ โครงการ อบรมเพิ่มพูนความรู้ของเจ้าหน้าที่

“ โครงการ อบรมเพิ่มพูนความรู้ของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังและพัสดุ ” บรรยายโดย นายธีรเดช บุญวาศ ที่ปรึกษาด้านระเบียบพัสดุและการบริหารงานก่อสร้าง สำนักงานบริหารโครงการไทยเข้มแข็ง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 1.

cherie
Télécharger la présentation

“ โครงการ อบรมเพิ่มพูนความรู้ของเจ้าหน้าที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “โครงการอบรมเพิ่มพูนความรู้ของเจ้าหน้าที่“โครงการอบรมเพิ่มพูนความรู้ของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังและพัสดุ” บรรยายโดยนายธีรเดช บุญวาศที่ปรึกษาด้านระเบียบพัสดุและการบริหารงานก่อสร้างสำนักงานบริหารโครงการไทยเข้มแข็งสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1

  2. ระเบียบ วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้างและการปฏิบัติตาม กม.ปปช ที่เกี่ยวกับซื้อ/จ้าง 28 มี.ค. 57 สำหรับ ผู้บริหาร/จนท.พัสดุ/จนท.การเงิน สสจ.ระนอง

  3. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ • วางตัวเป็นกลาง • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตสำนึก โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีทัศนคติที่ดี พัฒนาตนเองอยู่เสมอ • ใช้ความรู้ความสามารถ อย่างเต็มที่ • ใช้ทรัพย์สินอย่างคุ้มค่า ประหยัด มีประสิทธิภาพ • คำนึงถึงประโยชน์ของหน่วยงาน ยึดหลักถูกต้อง ยุติธรรม • ใส่ใจผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน ร่วมมือแก้ปัญหา พัฒนางาน • ไม่เรียก/รับ/ยอมรับทรัพย์/ผลประโยชน์ เพื่อตนเองหรือผู้อื่น

  4. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ(ต่อ)จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ(ต่อ) • ปฏิบัติต่อผู้ขาย / ด้วยความเป็นธรรมเอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ • ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อการแข่งขันอย่างเสรี/เป็นธรรม • ร่วมกับทุกฝ่าย สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานเป็นวิชาชีพ • ผู้บังคับบัญชา พึงเอาใจใส่ผู้ปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษา แนะนำ อย่างมีเหตุผล

  5. การจัดทำแผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างการจัดทำแผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2546 หน่วยรับตรวจ 6.หน่วยงานอิสระ 7.องค์การมหาชน 8.หน่วยงานในกำกับของรัฐ 9.หน่วยงานอื่น 1. กระทรวง/ทบวง/กรม 2.ส่วนราชการประจำจังหวัด 3. กทม 4. อบจ. , อบต. 5. รัฐวิสาหกิจ

  6. หลักเกณฑ์การจัดทำแผน ซื้อด้วยเงินงบประมาณ / เงินนอกงบประมาณ / เงินกู้ /เงินอุดหนุน 2. หน่วยรับตรวจตามข้อ 1,3,5,6,7,8,9 ค่าครุภัณฑ์ > 100,000 ค่าที่ดินสิ่งก่อสร้าง > 2,000,000 3. หน่วยรับตรวจตามข้อ 2, 4 ค่าครุภัณฑ์ > 100,000 ค่าที่ดินสิ่งก่อสร้าง > 1,000,000

  7. กำหนดแล้วเสร็จ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินอุดหนุน 31 ต.ค. ของทุกปี สตง. เงินกู้ ภายใน 30 วันนับแต่ได้เงิน

  8. มีการแก้ไข / เปลี่ยนแปลง / เพิ่มเติม /ตัดทอน รายละเอียด หรือ ระยะเวลาในแผน แจ้ง สตง. ทราบภายใน 15 วัน นับแต่ ที่ได้รับอนุมัติให้แก้ไข

  9. การติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการติดตามผลการปฏิบัติตามแผน การรายงานผลการปฏิบัติ ตามแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ส่ง สตง. ทราบทุกไตรมาส ภายใน 30 วัน นับแต่วันสุดท้าย ของไตรมาส (ตามแบบรายงาน)

  10. การบริหารงานพัสดุ คน เงิน สิ่งของ การบริหารจัดการ

  11. คน

  12. บุคคลในการจัดหาพัสดุ ๑.ผู้มีหน้าที่ ๒.ผู้มีอำนาจ -จนท.พัสดุ -หัวหน้า จนท. พัสดุ -คกก.ต่างๆ -ผู้ควบคุมงาน ๒.๑ อำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุ ๒.๒ อำนาจสั่งซื้อ/ สั่งจ้าง ๒.๓ อำนาจ ลงนามสัญญา 12

  13. ๑.ผู้มีหน้าที่

  14. การจัดซื้อ/จัดจ้างแต่ละครั้งเกี่ยวข้องกับใครบ้าง ? 1. เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 2. เจ้าหน้าที่พัสดุ 3. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 4. ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการชุดต่างๆ

  15. เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี เกี่ยวข้อง กับการจัดซื้อจัดจ้าง อย่างไร ?

  16. 1. ออกใบเสร็จรับเงินค่าขายแบบ 2. ออกใบรับหลักประกันซอง ให้แก่ผู้ยื่นซองประกวดราคา (สอบราคาไม่มีหลักประกันซอง) • ตรวจสอบหลักประกันซองร่วมกับ คกก.รับและเปิดซองประกวดราคา 4. ทำเรื่องเบิกจ่ายค่าจ้าง หรือค่าซื้อสินค้าให้แก่ผู้รับจ้างหรือ ผู้ขายตามสัญญา 5. คืนหลักประกันซอง หรือหลักประกันสัญญาตามเวลา ที่ระเบียบกำหนด

  17. จนท. การเงินจะต้องทำอย่างไร ? เมื่อพ้นระยะเวลาประกันแล้ว เจ้าของไม่มารับหลักประกันคืน

  18. 1. กรณีเป็นเงินสด • ให้แจ้งเป็นหนังสือไปยังเจ้าของหลักประกันโดยระบุว่า ให้มารับคืนภายในวันที่...หากไม่มารับ ทางราชการจะนำเงินหลักประกันสัญญาดังกล่าว ส่งเป็นเงินรายได้แผ่นดินต่อไป 2. กรณีเป็นหนังสือค้ำประกันสัญญา - ให้รีบส่งคืนต้นฉบับให้แก่ผู้เสนอราคา หรือคู่สัญญาโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนโดยเร็ว และแจ้งให้ผู้ออกหนังสือค้ำประกันทราบด้วย

  19. เจ้าหน้าที่พัสดุ ความหมาย 1. จนท.ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับพัสดุ 2. หรือผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการ ให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุ ตามระเบียบ

  20. หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุหน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุ • การจัดทำเอกสาร • - สอบราคา • - ประกวดราคา • - เผยแพร่ • การรับมอบพัสดุ • การควบคุมพัสดุ • - ลงบัญชีวัสดุ ทะเบียนครุภัณฑ์ • และที่ราชพัสดุ • - เก็บรักษาพัสดุ • - ลงบัญชีเมื่อจำหน่ายพัสดุ • จัดทำรายงาน - ขอซื้อ/จ้าง - ขอแลกเปลี่ยน - การเช่า - เสนอ หน.ส่วนราชการ เมื่อได้รับมอบพัสดุ • ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง (ตกลงราคา)

  21. หัวหน้า จนท.พัสดุ ความหมาย: 1. หน.หน่วยงานระดับกอง หรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงาน ที่เกี่ยวกับการพัสดุ 2. หรือข้าราชการอื่นที่ได้รับการแต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการให้เป็น หน.จนท.พัสดุ

  22. หน้าที่ของหัวหน้า จนท.พัสดุ • ควบคุมกำกับการทำงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ • ลงนามสั่งซื้อ/จ้าง ในการจัดหาโดยวิธีตกลงราคา • เก็บรักษาซองสอบราคา และส่งมอบ ให้ คกก.เปิดซองสอบราคา • ควบคุมกำกับการจัดทำเอกสารสอบราคา/ประกวดราคาและเผยแพร่เอกสาร • เสนอแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของ หน.ส่วนราชการ

  23. ๒.หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ ๕) โดยตำแหน่ง-ผอ.กองพัสดุ/หฝ./หน.งานพัสดุ โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ/พ.มหาวิทยาลัย ๑.เจ้าหน้าที่พัสดุ(ข้อ๕) • โดยตำแหน่ง • โดยแต่งตั้ง – ข้าราชการ/พ.ราชการ/พ.มหาวิทยาลัย/ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว • โดยแต่งตั้ง ใช้กับกรณีไม่มี จนท.พัสดุหรือ หัวหน้าจนท.พัสดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดำเนินการเอง

  24. หัวหน้าส่วนราชการ ส่วนกลาง ปลัดกระทรวง ส่วนภูมิภาค ผวจ.

  25. หน้าที่ของหัวหน้าส่วนราชการหน้าที่ของหัวหน้าส่วนราชการ • แต่งตั้ง จนท.และหน.จนท.พัสดุ • ให้ความเห็นชอบ ในรายงานขอซื้อ/จ้าง • แต่งตั้ง คกก.ต่างๆ • พิจารณาผลการดำเนินการและ • สั่งซื้อ/จ้างในวงเงิน • สั่งยกเลิกการสอบราคาและ • ประกวดราคา • เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวง / • รมว.กรณีวงเงินเกินอำนาจ • ลงนามในสัญญาและ บริหารสัญญา • ส่งสำเนาสัญญาเงินเกิน 1 ล้านบาท • ให้ สตง.และกรมสรรพากรใน 30 วัน • เสนอความเห็นลงโทษผู้ทิ้งงาน • รับอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

  26. หน้าที่ของปลัดกระทรวงหน้าที่ของปลัดกระทรวง • สั่งซื้อสั่งจ้างในวงเงิน • พิจารณาผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพันของราชการให้เป็นผู้ทิ้งงาน และแจ้งกระทรวงการคลัง

  27. หน้าที่ของรัฐมนตรีเจ้าสังกัดหน้าที่ของรัฐมนตรีเจ้าสังกัด • สั่งซื้อสั่งจ้างในวงเงิน

  28. ๒.ผู้มีอำนาจ อำนาจที่ ๑ ผู้มีอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุ (ข้อ ๙) หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง / ผู้ว่าฯ และจะมอบอำนาจต่อไป ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดอีกก็ได้ โดยให้คำนึงถึงระดับตำแหน่ง /หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ ผู้ได้รับมอบอำนาจ มีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจ จะมอบอำนาจนั้นต่อไปอีกไม่ได้ เว้นแต่ เจ้าของอำนาจได้มอบให้ผู้ว่าฯ ผู้ว่าฯ สามารถมอบต่อไปให้รองผู้ว่าฯ ผู้ช่วยผู้ว่าฯ หรือ หส.ราชการ อีกก็ได้

  29. วงเงินวิธีตกลงราคา/สอบราคา/ประกวดราคา (ข้อ ๖๕) - หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน - ปลัดกระทรวง ๕๐-๑๐๐ ล้าน รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖) -หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน -ปลัดกระทรวง ๒๕ - ๕๐ ล้าน -รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ ๖๗) -หส.ราชการ ไม่จำกัดวงเงิน อำนาจที่ ๒“ผู้มีอำนาจอนุมัติให้สั่งซื้อ /สั่งจ้าง” ใช้กับกรณีเมื่อหาตัวผู้ขาย หรือรับจ้าง ได้แล้ว ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคา ตามวงเงินดังนี้ 29

  30. ประกาศจัดซื้อ หรือจัดจ้างครั้งเดียวกันมีหลายรายการ ตัดสินแยกแต่ละรายการใครมีอำนาจสั่งซื้อ/จ้าง แนววินิจฉัยของกวพ.(พ.ค.๒๕๕๓) ให้ดูจากวงเงินของทุกรายการที่ชนะราคา แล้วนำมารวมกัน มิใช่ดูจากยอดรวมที่ชนะราคาแต่ละรายการ การจะเสนอว่า วงเงินอยู่ในอำนาจของใคร? เป็นผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง

  31. อำนาจที่๓ --- อำนาจลงนามสัญญา (ข้อ๑๓๒) • ผู้มีอำนาจลงนาม ใช้กับกรณีเมื่อหาตัวผู้ขาย หรือรับจ้าง ได้แล้ว และได้มีการอนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้างเรียบร้อย คือ หัวหน้าส่วนราชการ

  32. บางท่านโชคดี อาจได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการฯ ชุดใด ชุดหนึ่ง ดังนี้..

  33. คณะกรรมการ

  34. คณะกรรมการการซื้อ/จ้างคณะกรรมการการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง • ผู้ควบคุมงาน • 7. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง • 8. คณะกรรมการจ้างโดยวิธีพิเศษ

  35. พนักงานราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยเป็นกรรมการได้หรือไม่พนักงานราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยเป็นกรรมการได้หรือไม่ - พนักงานราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งมิใช่ผู้จัดซื้อ/จ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ หรือ งานจ้าง ได้ในวงเงินไม่ เกิน 10,000 บาท - พนักงานมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการได้ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ว. 155 วันที่ 9 พ.ศ. 50

  36. การแต่งตั้งคณะกรรมการการแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง : หัวหน้าส่วนราชการ องค์ประกอบ : - ประธาน 1 คน - กรรมการอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานของรัฐ เงื่อนไข : ตั้งเป็นครั้งๆ ไป (ไม่มีรูปแบบ) หลักการ : ไม่ตั้งกรรมการซ้ำกัน

  37. ข้อ ห้าม กรรมการรับและเปิด ซองประกวดราคา กรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา กรรมการเปิดซองสอบราคา หรือกรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา กรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้จัดซื้อ /จ้าง ไม่เกิน 10,000 บ . ผู้ตรวจรับพัสดุ

  38. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ • ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง • (ประธานอยู่ด้วยทุกครั้ง) องค์ประชุม • ถือเสียงข้างมาก • เสียงเท่ากัน ประธานออกเสียงเพิ่มได้ 1 เสียง มติที่ประชุม ยกเว้น • คกก.ตรวจรับพัสดุ/ คกก.ตรวจการจ้าง • ใช้มติเอกฉันท์

  39. การบริหารด้าน การเงิน และ งบประมาณ 39

  40. เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี เงินกู้ ที่ กค. กู้จากต่างประเทศ/ในประเทศ เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินนอกงบประมาณ งบประมาณที่จะนำมาใช้กับการจัดหาพัสดุประกอบด้วย

  41. เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี

  42. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย งบส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ งบกลาง บุคลากร ดำเนินงาน ลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น

  43. รายจ่ายของส่วนราชการฯ มี 5 ประเภท หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 1. งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค 2. งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 3. งบลงทุน 43

  44. หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตำบล องค์การระหว่างประเทศ นิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ 4.งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่าย 5.งบรายจ่ายอื่น

  45. งบ ดำ เนิน งาน เงินที่จ่ายตอนแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด ค่าตอบแทน รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่นๆ ค่าใช้สอย รายจ่ายเพื่อ(1) จัดหาโดยสภาพใช้แล้วหมดไปไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด ไม่เกิน 5,000 บาท (2)จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000บาท (3) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท (4) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท (5) ซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ค่าวัสดุ รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ค่าสาธารณูปโภค

  46. รายจ่ายเพื่อ (1) จัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น (2)จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท (3)ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท (4)ซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง (5)จ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ งบ ลง ทุน ค่าครุภัณฑ์ • รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่าย • ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร • รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน เป็นต้น • รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงาน • (4) รายจ่ายจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา ปรับปรุง ที่ดินสิ่งก่อสร้าง • (5) รายจ่ายค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าที่ดิน และสิ่งก่อร้าง

  47. งบเงิน อุดหนุน เงินที่กำหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของรายการ เช่น ค่าบำรุงสมาชิกองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ค่าบำรุงสมาชิกสหภาพวิทยุกระจายเสียงแห่งเอเซียเงินอุดหนุนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดเงินอุดหนุนเพื่อบูรณะท้องถิ่น เป็นต้น อุดหนุนทั่วไป เงินที่กำหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของรายการและตามรายละเอียดที่สำนักงบประมาณกำหนด เช่น รายการค่าครุภัณฑ์ หรือค่าสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น อุดหนุน เฉพาะกิจ ได้แก่ (1)เงินราชการลับ (2)เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง (3)ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (4)ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (5) ค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ (6)ค่าใช้จ่ายสำหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน (7)รายจ่ายเพื่อชำระหนี้เงินกู้ งบ รายจ่าย อื่น

  48. การเบิกค่าใช้จ่าย ครุภัณฑ์ ค่าวัสดุ

  49. การเบิกค่าใช้จ่าย ครุภัณฑ์ ค่าวัสดุ

  50. การเบิกค่าใช้จ่าย ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน

More Related