1 / 39

การเทียบโอนผลการเรียน จากการศึกษา นอกระบบและตามอัธยาศัย โดย อัมพา สุวรรณศรี

การเทียบโอนผลการเรียน จากการศึกษา นอกระบบและตามอัธยาศัย โดย อัมพา สุวรรณศรี. สาระสำคัญ. 1. นิยามศัพท์ 2. องค์ประกอบของการเรียนรู้ที่มีมาก่อน 3. คุณสมบัติของผู้ขอเทียบโอน 4. หลักการสำคัญในการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน. สาระสำคัญ ( ต่อ ). 5. กระบวนการ / ขั้นตอนในการเทียบโอน

chesna
Télécharger la présentation

การเทียบโอนผลการเรียน จากการศึกษา นอกระบบและตามอัธยาศัย โดย อัมพา สุวรรณศรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยโดย อัมพา สุวรรณศรี

  2. สาระสำคัญ 1. นิยามศัพท์ 2. องค์ประกอบของการเรียนรู้ที่มีมาก่อน 3. คุณสมบัติของผู้ขอเทียบโอน 4. หลักการสำคัญในการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน

  3. สาระสำคัญ (ต่อ) 5. กระบวนการ/ขั้นตอนในการเทียบโอน 6. การปรับปรุงแก้ไขการดำเนินการ 7. วิธีการ/เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 8. หลักการประเมินผลการเรียนรู้ 9. การบันทึกผลการประเมิน

  4. นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง • ความหมายตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 1. การศึกษาในระบบ กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษา ที่แน่นอน

  5. 2. การศึกษานอกระบบ - มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษา - เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม

  6. 3. การศึกษาตามอัธยาศัย - ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส - โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่นๆ

  7. ความหมายจาก Alberta Council on Admission and Transfer • การเรียนรู้ในระบบ เป็นการเรียนรู้ (ความรู้และทักษะ) ที่ได้รับจากการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร โดยได้รับประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง ปริญญา หรือคุณวุฒิทางการศึกษาอื่นๆ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ

  8. 2. การเรียนรู้นอกระบบ เป็นการเรียนรู้ที่ไม่ได้มุ่งเพื่อคุณวุฒิทางการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับ เป็นการเรียนรู้ที่จัดให้กลุ่มบุคคลบางกลุ่ม ซึ่งไม่ใช่ผู้เรียนตามปกติ เช่น การประชุมปฏิบัติการ การสัมมนา การประชุมวิชาการ การฝึกอบรม เป็นต้น

  9. 3. การเรียนรู้ตามอัธยาศัย เป็นการเรียนรู้ที่บุคคลเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น หนังสือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ และจากประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งรวมถึงการท่องเที่ยว ประสบการณ์การทำงาน ประสบการณ์ชีวิต เป็นต้น

  10. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อนการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน • USA - prior learning assessment (PLA) • อังกฤษ - accreditation of prior learning (APL) - accreditation of prior achievement (APA) - assessment of prior experiential learning (APEL)

  11. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อนการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน • ออสเตรเลีย - recognition of prior learning (RPL) - Recognition of Current Competence (RCC) • แคนาดา - prior learning assessment and recognition (PLAR) • ฝรั่งเศส - validation of experience

  12. การเรียนรู้ที่มีมาก่อน (Prior Learning) การเรียนรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ทำงาน และประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะ ไม่ได้ผ่านการศึกษาในมหาวิทยาลัย การเรียนรู้นั้นอาจเกิดจากประสบการณ์ต่อไปนี้ - การทำงานแบบเต็มเวลา หรือไม่เต็มเวลา หรือแบบมีสัญญาเป็นช่วงเวลา - งานอาสาสมัคร หรืองานบริการสังคม - การฝึกอบรม ที่จัดภายใน/ภายนอกองค์กร - การศึกษาแบบอิสระที่ลงลึก / งานอดิเรก

  13. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อนการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน เป็นระบบซึ่งสถาบันการศึกษาประเมินรายบุคคลที่เที่ยงตรง และอนุมัติ การเทียบโอนหน่วยกิตให้ผู้เรียนที่สามารถแสดงออกอย่างชัดเจนถึงความรู้ ประสบการณ์การเรียนรู้ ทักษะ และเจตคติของตนเอง พร้อมทั้งมีหลักฐานซึ่งแสดงว่าผู้เรียนนั้นมีผลสัมฤทธิ์ตรงตามจุดประสงค์หรือสมรรถนะที่กำหนดไว้ในรายวิชาที่ขอเทียบ

  14. องค์ประกอบของการเรียนรู้ที่มีมาก่อนองค์ประกอบของการเรียนรู้ที่มีมาก่อน • วัดได้ • ประยุกต์ใช้ได้ นอกเหนือจากงาน หรือบริบทเฉพาะ ที่ได้เรียนรู้ • มีฐานความรู้ • มีความเป็นปัจจุบัน ไม่ล้าสมัย • แสดงถึงความคิดรวบยอด / ความคิดเชิงทฤษฏีและความเข้าใจเชิงปฏิบัติ • สัมพันธ์กับรายวิชาที่ขอเทียบ

  15. คุณสมบัติผู้ขอเทียบโอนคุณสมบัติผู้ขอเทียบโอน • มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า • ต้องเป็นนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา • มีประสบการณ์จากการทำงาน • ผ่านการฝึกอบรมจากหน่วยงานที่ผ่าน การประเมินจากสถาบันอุดมศึกษา

  16. หลักการสำคัญในการเทียบโอนผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน • นำมาใช้เฉพาะกับนักศึกษา ซึ่งขอรับการเทียบโอนหน่วยกิต ตามหลักสูตรของสถาบัน • เป็นการให้หน่วยกิตจากการประเมินว่านักศึกษาได้ “เรียนรู้” อะไรบ้างจากประสบการณ์ • หน่วยกิตที่ให้มีค่าเช่นเดียวกับหน่วยกิตที่ได้จากการเรียน • การประเมินเพื่อการเทียบโอนหน่วยกิต ต้องมีบรรทัดฐาน

  17. การให้หน่วยกิตจะต้องให้หน่วยกิตทั้งหมดของรายวิชานั้นการให้หน่วยกิตจะต้องให้หน่วยกิตทั้งหมดของรายวิชานั้น • การเทียบโอนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ต้องมีเนื้อหาสาระ ครอบคลุมไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของรายวิชาที่ขอเทียบ • ระดับปริญญาตรี จะเทียบโอนหน่วยกิตได้รวมกันไม่เกิน 3 ใน 4 และระดับบัณฑิตศึกษา ไม่เกิน 1 ใน 3 ของจำนวนหน่วยกิตรวมทั้งหลักสูตร • ตัดสินผลการประเมิน ผ่าน – ไม่ผ่าน ไม่ให้ระดับคะแนนตัวอักษร และไม่นำมาคิดคะแนนเฉลี่ยสะสม

  18. กระบวนการ / ขั้นตอนในการเทียบโอน • การแนะนำเบื้องต้น • การยื่นขอเทียบโอน • การชำระค่าธรรมเนียม • การกำหนดตารางและแผนการประเมิน • การเตรียมการประเมินผลการเรียนรู้ • การประเมินผลการเรียนรู้ • การประกาศผลการประเมิน • กระบวนการร้องขอให้ทบทวน

  19. 1. การแนะนำเบื้องต้น • สถาบันอุดมศึกษา • กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ หรือระเบียบ • จัดทำคู่มือวิธีการเทียบโอน • กำหนดปฏิทิน • จัดทำสมรรถนะ หรือผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา • จัดประชุมชี้แจง

  20. การแนะนำเบื้องต้น • นักศึกษา • รับฟังคำชี้แจง • ศึกษาหลักสูตร รายวิชา คำอธิบายรายวิชา สมรรถนะหรือผลลัพธ์การเรียนรู้ • รวบรวมความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ • พบอาจารย์ที่ปรึกษา

  21. 2. การยื่นขอเทียบโอน หน่วยงานที่ทำหน้าที่เทียบโอน • กำหนดแบบฟอร์มคำร้องขอเทียบโอน • ตรวจสอบคำร้องขอเทียบโอน • ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ

  22. การยื่นขอเทียบโอน (ต่อ) นักศึกษาผู้ขอเทียบโอน • รวบรวมเอกสารหลักฐานการเรียนรู้ • กำหนดรายวิชาและหน่วยกิตที่ขอเทียบโอน • ยื่นคำร้องและกรอกแบบฟอร์มขอเทียบโอน รายวิชา

  23. 3. การชำระค่าธรรมเนียม • เป็นอำนาจของสภาสถาบันอุดมศึกษา • ต้องประกาศในคู่มือการเทียบโอน • ค่าธรรมเนียม มี 2 ส่วน - ค่าธรรมเนียมการขอเทียบโอน - ค่าธรรมเนียมในการประเมินผลการเรียนรู้

  24. 4. การจัดทำตารางและแผนการประเมิน นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาทำงานร่วมกัน • ศึกษาคู่มือหลักสูตร / สมรรถนะและ ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา • ศึกษาปฏิทินการเทียบโอนผลการเรียนรู้ • จัดทำแผนการดำเนินการ โดยเฉพาะกรณีเลือก วิธีประเมินโดยการจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน

  25. 5. การเตรียมการประเมินผลการเรียนรู้ • จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการประเมิน - หัวหน้าสาขาวิชาหรือผู้แทน - ผู้แทนจากภาควิชา - ผู้แทนจากภาคอุตสาหกรรม หรือ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา - ผู้แทนจากหน่วยงานที่นักศึกษาสังกัด

  26. จัดเตรียมเอกสารหลักเกณฑ์การประเมิน จัดเตรียมเอกสารหลักเกณฑ์การประเมิน • เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน • จัดทำแบบฟอร์มการประเมิน • กำหนดวันสอบ หรือประเมินผลการเรียนรู้

  27. 6. การประเมินผลการเรียนรู้ • คณะกรรมการหรืออาจารย์ผู้ประเมินดำเนินการ ประเมินตามวิธีที่นักศึกษาผู้ขอเทียบโอนเลือก • หากไม่แน่ในผลการเรียนรู้สามารถขอให้ นักศึกษาแสดงทักษะ ความสามารถ หรือ สัมภาษณ์เพิ่มเติมได้

  28. 7. การประกาศผลการประเมิน • คณะกรรมการหรืออาจารย์ผู้ประเมินส่งแบบฟอร์ม การประเมินให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยให้ คะแนนตามเกณฑ์การประเมิน • หากผลการประเมินไม่ผ่าน จะต้องชี้แจงเหตุผล ที่ไม่ผ่านให้ชัดเจน

  29. 7. การประกาศผลการประเมิน • หน่วยงานที่รับผิดชอบการเทียบโอน - เสนอผลการประเมินให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ - ส่งผลการประเมินให้ฝ่ายทะเบียนบันทึก ผลการเทียบโอน - แจ้งผลให้นักศึกษาทราบ

  30. 8. การร้องขอให้ทบทวน • เป็นอำนาจของสภาสถาบันอุดมศึกษาในการ กำหนดหลักเกณฑ์ • ต้องกำหนดระยะเวลาที่จะยื่นอุทธรณ์ให้ ชัดเจน • วิธีการยื่นอุทธรณ์ • การชำระค่าธรรมเนียมในการประเมินใหม่

  31. การแนะนำและให้ คำปรึกษาเบื้องต้น ไม่ได้ ลงทะเบียน เรียนรายวิชา ได้ การยื่นขอเทียบโอน การจ่ายค่าธรรมเนียมในการเทียบโอน การจัดทำแผนการขอเทียบโอน การเตรียมการประเมิน นักศึกษาขอ ทบทวน หรืออุทธรณ์ การดำเนินการประเมิน ไม่ผ่าน ผ่าน การประกาศผล การประเมิน ได้รับ หน่วยกิต อาจารย์ที่ ปรึกษาให้ คำแนะนำ บันทึกผล การประเมิน จบ

  32. การปรับปรุงและแก้ไขการดำเนินงานการปรับปรุงและแก้ไขการดำเนินงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบควรจัดให้มีการประเมิน และติดตามผลการดำเนินงานทุกปีการศึกษาและ รายงานต่อภาควิชา หรือคณะวิชา เพื่อปรับปรุง แก้ไขการดำเนินงาน

  33. วิธีการ / เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เพื่อการเทียบโอน • การทดสอบ (test) 1.1 Standard Tests 1.2 Non – Standard Tests - Challenge Exam - Oral Exam - Skill Performance • การประเมินการศึกษา/อบรม ที่จัดโดยหน่วยงานอื่น • การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)

  34. การเทียบโอนผลการเรียนรู้จากประสบการณ์การเทียบโอนผลการเรียนรู้จากประสบการณ์ • เอกสารประกอบการพิจารณาประเมิน - ระเบียนผลงาน - จดหมายรับรอง - การประเมินสมรรถนะ - การฝึกอบรมรายวิชา - คำอธิบายรายวิชา

  35. หลักการประเมินผลการเรียนรู้หลักการประเมินผลการเรียนรู้ • การตรงตามสภาพจริง • ความเป็นปัจจุบัน • คุณภาพ • ความเกี่ยวข้อง • ความสามารถในการถ่ายโอน • ความสามารถในการเปรียบเทียบ

  36. วิธีการประเมิน Standard Tests 2. การทดสอบโดยอาจารย์ผู้สอน 3. การประเมินการศึกษาอบรมที่จัด โดยหน่วยงานอื่น การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน / แฟ้มสะสมผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน การบันทึกผลการประเมิน CS (Credit from Standard Tests CE (Credit from Exam) CT (Credit from Training) CP (Credit from Portfolio ) การบันทึกผลการประเมิน

  37. ประโยชน์สำหรับรายบุคคลประโยชน์สำหรับรายบุคคล • ใช้ประสบการณ์ที่มีอยู่แล้วโดยไม่ต้องเรียนรู้หรือ ทำใหม่ • ได้คุณวุฒิในระบบเร็วขึ้น ประหยัดเวลา และเงิน • มีความมั่นใจในการแสวงหาความรู้เพิ่ม • พัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตามความต้องการ • เห็นคุณค่าของผลสัมฤทธิ์ของการทำงาน

  38. ประโยชน์สำหรับองค์กร • ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผลสำหรับการศึกษาและฝึกอบรม • สนองความต้องการของลูกค้า บุคลากร และนักศึกษา • จูงใจให้ลูกค้า บุคลากร และนักศึกษา สนใจและเต็มใจที่จะเรียนรู้ให้สัมฤทธิ์ผล • ให้โอกาสของความเสมอภาค • สอดแทรกการประเมินไปในการทำงาน และให้บริการ

  39. สวัสดี

More Related