1 / 14

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

การบริหารการพยาบาล. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. ทีม การประสานบริการกับหน่วยงานอื่น ผู้นำทางการพยาบาล ( หัวหน้างานทุกระดับ ) การบริหารบุคลากรทางการพยาบาล การจัดอัตรากำลัง ปัญหาการวิเคราะห์ภาระงานปริมาณงาน

chiku
Télécharger la présentation

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการพยาบาล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

  2. ทีม การประสานบริการกับหน่วยงานอื่น ผู้นำทางการพยาบาล ( หัวหน้างานทุกระดับ ) การบริหารบุคลากรทางการพยาบาล การจัดอัตรากำลัง ปัญหาการวิเคราะห์ภาระงานปริมาณงาน การพัฒนาบุคลากร (ยึดวิเคราะห์ การหาส่วนขาดสัมพันธ์กับปัญหาที่เกิดขึ้น การประเมินผลงาน ) การสร้างขวัญกำลังใจ การสร้างทีมงาน การให้ความผาสุข ปัจจัยความสำเร็จการบริหารองค์กรพยาบาล

  3. เป้าหมายมาตรฐาน มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการที่มีคุณภาพสูงเพื่อ บรรลุพันธกิจขององค์กร

  4. เป้าหมายกระบวนการ : บุคลากรมีความรู้ ทักษะในเชิงวิชาชีพ และจำนวนเหมาะสมกับภาระงาน ผู้ป่วยมีความปลอดภัย ดูแลตนเองได้

  5. NUR 1 เป้าหมายวัตถุประสงค์ NUR 2 การจัดองค์กรและการบริหาร NUR 3 การจัดการทรัพยากรบุคคล NUR 4 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล NUR 5 นโยบายวิธีปฏิบัติ NUR 6 ระบบงานการบริหารการพยาบาล NUR 7 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ องค์ประกอบของมาตรฐาน เป้าหมายแต่ละองค์ประกอบต้องการอะไร

  6. NUR 1 เป้าหมายวัตถุประสงค์ ( ลายลักษณ์อักษร สื่อสารสู่การปฏิบัติเน้นความเข้าใจ) NUR 2 การจัดองค์กรและการบริหาร ( เอื้อต่อการบรรลุพันธกิจ) NUR 3 การจัดการทรัพยากรบุคคล ( บริการได้ตามพันธกิจ คุณภาพ ประสิทธิภาพ ) NUR 4 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล( ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี คุณภาพ ประสิทธิภาพ ) NUR 5 นโยบายวิธีปฏิบัติ ( เจ้าหน้าที่ยึดถือปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ NSO) NUR 6 ระบบงานการบริหารการพยาบาล( มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานตอบสนองความต้องการผู้ป่วย) NUR 7 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ (ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ทำงานเป็นทีมพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ) เป้าหมายในแต่ละ องค์ประกอบของมาตรฐาน

  7. ความคาดหวังในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การรับรองจาก NUR 1 – NUR 7

  8. 1.เป้าหมาย วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ครอบคลุม a ประสิทธิภาพ การบริหาร b ความรู้ความสามารถทักษะเชิงวิชาชีพ c คุณภาพการพยาบาล บริการที่มีคุณภาพพัฒนาศัยภาพบุคลากรทุกระดับ กระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากร 2. แผนยุทธศาสตร์ / แผนการพัฒนาขององค์กรพยาบาล ( สอดคล้องบริบท นำส่วนขาดจากการวิเคราะห์ NUR1- NUR 7 นำปัญหาคุณภาพบริการ ประเด็น ความปลอดภัย ความเสี่ยง การสร้างเสริมสุขภาพ มากำหนดเป็นแผนการพัฒนา เพื่อการบรรลุเป้าหมายองค์กร ) Reทบทวนข้อ 1 และ 2อย่างต่อเนื่อง เมื่อบริบทเปลี่ยนไป มุ่งสู่เป้าหมายองค์กร เกิด นวตกรรมเชิงการบริหาร เปรียบเทียบกับองค์กรอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบบริหาร ประเด็นที่ให้ความสำคัญ 9 ประเด็นหลัก

  9. 3 บริหารอัตรากำลัง ( หน่วยงานเสี่ยงสูง บริหารรูปแบบ ตั้งรับ ตอบสนองพันธกิจองค์กร เชิงรุก สร้างหลักประกันว่าผู้ป่วยมีความปลอดภัยตลอดเวลา บริหารสารสนเทศรายวัน คนมีความรู้ความสามารถในแต่ละสาขา ) 4.การนิเทศ ควบคุมกำกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ประเมินผลการปฎิบัติงาน ประเด็นการนิเทศชัดเจน เน้นคลินิก บริหาร มีการควบคุมกำกับให้ความช่วยเหลือขณะปฏิบัติงาน จัดระบบงานช่วยให้ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย การประเมินเน้นทักษะเชิงวิชาชีพ 10 ประการ ทักษะเฉพาะแต่ละงาน เชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย Feed Back นำมาพัฒนาศักยภาพ 5 ความรู้ความสามารถผู้นำทางการพยาบาล วางระบบการเตรียมความพร้อมผู้นำทุกระดับ ผู้นำสามารถกระตุ้นผลักดัน เพื่อบรรลุเป้าหมายสามารถนำหลักคิด มาปรับปรุงระบบบริหาร

  10. 6 การพัฒนาบุคลากร ( แผนการพัฒนา นำข้อมูลจากข้อ 4 มาร่วมกำหนดแผน ครอบคลุม ผู้นำ ผู้ปฏิบัติงาน เนื้อหา เทคนิคทั่วไป ทักษะเชิงวิชาชีพ การพัฒนาคุณภาพความปลอดภัย ผู้นำ ) สมดุล พัฒนาตามส่วนขาด และความต้องการ ( CNE ความก้าวหน้าในการงาน ) การประเมินผล เน้นผลกระทบการดูแลผู้ป่วย ผลงานรายบุคคลหน่วยงาน นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผน การพัมนาคนมีส่วนสำคัญต่อการบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรพยาบาล

  11. 7. การปฏิบัติการพยาบาล โดยนำกระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ เชื่อมกับการดูแลกลุ่มผู้ป่วย( คำนึงถึงสิทธิ ใช้ข้อมูลวิชาการ สภาวะผู้ป่วย ) ติดตามประเมินผลมาปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเจ้าหน้าที่ (Holistic Empowerment Lifestyle Prevention ) การดูแลที่สอดคล้องภาวะสุขภาพวิถีชีวิตบริบททางสังคม กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ ( ประเมินตนเองภายใน ( ทบทวน KPI QA (ยา IC ) ประเมินคุณภาพการพยาบาล( ทบทวนเวชระเบียน ) การาจัดการความรู้ ศักษาวิจัย การบริหารความเสี่ยง คุณภาพความปลอดภัย ) นำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ ปรับปรุงระบบงานร่วมกับสหสาขา และ กระบวนการบริหารการพยาบาล

  12. II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) Overall Req. มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูงเพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 บันทึก 5 ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน

  13. a.ประสิทธิภาพการบริหาร( อัตรากำลัง การนิเทศ เน้นการใช้ผลนิเทศเพื่อความปลอดภัย กำกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ ความผาสุก การควบคุม) b.ความรู้/ความสามารถ ทักษะเชิงวิชาชีพ การพัฒนาศักยภาพผู้นำทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานประจำการ บุคลากรมาปฏิบัติงานใหม่ ส่งเสริมความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก (ทักษะเชิงวิชาชีพ )

  14. c. คุณภาพการพยาบาล 1.1 การนำกระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ เชื่อมกับการดูแลกลุ่มผู้ป่วย ติดตามประเมินผลมาปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล 1.2 การบริหารความเสี่ยง เน้นกลุ่มผู้ป่วย คุณภาพการพยาบาล 1.3 การประกันคุณภาพ เน้นกลุ่มผู้ป่วย คุณภาพการพยาบาล 1.4 ความเป็นองค์รวม/การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วย (Holistic Empowerment Lifestyle Prevention ) การดูแลที่สอดคล้องภาวะสุขภาพวิถีชีวิตบริบททางสังคม 1.5 การประเมินตนเอง ( ประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน ) 1.6 การใช้ความรู้ทางวิชาการการจัดการความรู้ วิจัย 1.7 การบันทึกเวชระเบียน 1.8 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 1.9 การใช้ยา

More Related