1 / 36

มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี นักวิชาการมาตรฐานชำนาญการพิเศษ

มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี นักวิชาการมาตรฐานชำนาญการพิเศษ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.). หัวข้อบรรยาย. การค้าสินค้าเกษตรและอาหารไทยในตลาดโลก/อาเซียน AEC กับมาตรฐาน มาตรฐานสินค้าเกษตรของอาเซียน มาตรฐานตรฐานสินค้าเกษตรไทย ถาม/ตอบ.

chip
Télécharger la présentation

มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี นักวิชาการมาตรฐานชำนาญการพิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี นักวิชาการมาตรฐานชำนาญการพิเศษ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

  2. หัวข้อบรรยาย การค้าสินค้าเกษตรและอาหารไทยในตลาดโลก/อาเซียน AEC กับมาตรฐาน มาตรฐานสินค้าเกษตรของอาเซียน มาตรฐานตรฐานสินค้าเกษตรไทย ถาม/ตอบ

  3. ประเทศไทยส่งออกอาหารไปทั่วโลก กว่า 200 ประเทศ Canada Russian UK EU Federation Japan China USA Indian Mexico THAILAND แนวโน้มมูลค่าส่งออกอาหาร ปี 2556ประมาณ 9 แสนล้านบาท (สินค้าเกษตรกว่า 6 แสนล้านบาท)

  4. ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียนภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน (APSC) ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงด้าน กฏระเบียบ การเชื่อมโยงระหว่างประชาชน

  5. การติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานในระดับอาเซียนการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานในระดับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน APSC Blueprint AEC Blueprint ASCC Blueprint AEC Scorecard ASCC Scorecard แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity)

  6. เป้าหมาย AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายภาษี ไปลงทุนได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา ปี 2015 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา 3. มีพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิก สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน

  7. เป้าหมาย AEC Blueprint A – ตลาดและฐานการผลิตเดียว A 1-5 : การเคลื่อนย้ายเสรี (สินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนแรงงานฝีมือ) A 6 : เร่งรัดการรวมกลุ่มรายสาขา A 7 : อาหาร เกษตรกรรม และการป่าไม้

  8. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในปี 2558 (ค.ศ.2015) โดยมีแนวคิดว่าอาเซียนจะกลายเป็นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single market and production base นั่นหมายถึง จะต้องมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรี สามารถดำเนินกระบวนการผลิตที่ไหนก็ได้ โดยสามารถใช้ทรัพยากรจากแต่ละประเทศ ทั้งวัตถุดิบและแรงงานมาร่วมในการผลิต มีมาตรฐานสินค้า กฎเกณฑ์ กฎระเบียบเดียวกัน

  9. การบังคับใช้มาตรฐานตามกรอบขององค์การการค้าโลก ►เพื่อความปลอดภัย ► เพื่อสุขอนามัย (คน สัตว์ พืช) ► เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ► เพื่อสิ่งแวดล้อม ► เพื่อความมั่นคงของประเทศ

  10. กติกาด้านมาตรฐานขององค์การการค้าโลกกติกาด้านมาตรฐานขององค์การการค้าโลก • โปร่งใส • ปฏิบัติเสมอภาค • อ้างอิงมาตรฐานระหว่างประเทศ -Codex, IPPC, OIE • ปรับมาตรฐานเข้าหากัน • ยอมรับมาตรฐานและผลการทดสอบ/รับรองที่เท่าเทียมกัน

  11. แนวทางกำหนดมาตรฐานของอาเซียน/ประเทศแนวทางกำหนดมาตรฐานของอาเซียน/ประเทศ • ประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และหลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงสำหรับการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร • นำมาตรฐาน Codex ไปใช้ • มีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรฐาน Codex

  12. ASEAN Bodies Related to Food Safety

  13. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Single Market Single Standard Standard Harmonization

  14. กิจกรรมการมาตรฐาน การกำหนดมาตรฐาน (Standards Development) มาตรวิทยา (Metrology) การตรวจสอบและรับรอง (Conformity Assessment)

  15. ASEAN Standard & Conformance Framework

  16. การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียนการร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้-AMAF 1.มาตรฐานพืชสวนและพืชอาหาร -Task Force on the ASEAN Standards for Horticultural Produce and other Food Crops(TF MASHP)  สินค้าพืชสวนและพืชอาหาร ประกาศรับรองแล้ว 40 เรื่อง - มาตรฐานผลไม้ จำนวน 20 เรื่อง ได้แก่ ทุเรียน มะม่วง สับปะรด มะละกอ เงาะ มังคุด แตงโม ส้มโอ ส้มเปลือกล่อน ฝรั่ง ลองกอง มะพร้าวอ่อน กล้วย ขนุน เมล่อน สละ ชมพู่ ละมุด น้อยหน่า และมะขามหวาน - มาตรฐานผัก/เครื่องเทศ จำนวน 15 เรื่อง ได้แก่ กระเทียม หอมแดง กระเจี๊ยบเขียว มะเขือยาว พริกหวาน พริก หอมใหญ่ ฟักทอง ข้าวโพดหวาน แตงกวา ถั่วฝักยาว กะหล่ำปลี เห็ดนางรม มันเทศ และขมิ้น - มาตรฐานพืชอื่นๆ จำนวน 5 เรื่อง มะม่วงหิมพานต์ ถั่วลิสง เมล็ดกาแฟ ชา และโกโก้  เกษตรอินทรีย์ (Organic agriculture)

  17. การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียนการร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้-AMAF 2.การกำหนดค่าปริมาณสารพิษตกค้าง (MRL)- Expert WG on the Harmonization of MRL of Pesticide among ASEAN Members : EWG-MRL กำหนดค่า ASEAN-MRL ของสารพิษตกค้างได้มากกว่า 800 ชนิด สอดคล้องกับมาตรฐาน Codex และข้อมูลการใช้สารเคมี/ข้อมูลสารพิษตกค้างของประเทศสมาชิกอาเซียน และข้อมูลการใช้สารเคมี/ข้อมูลสารพิษตกค้างของประเทศสมาชิกอาเซียน 3. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural PracticesGAP) ของ ASEAN หรือ ASEAN GAP ครอบคลุม 3 กลุ่มสินค้า คือผักผลไม้สด สัตว์น้ำ (กุ้ง/สัตว์น้ำอื่น) และปศุสัตว์ (ไก่เนื้อและไก่ไข่)

  18. การนำมาตรฐานไปใช้- ASEAN GAP (ผักผลไม้สด)

  19. ASEAN MRLs by agricultural commodity

  20. การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียนการร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเศรษฐกิจ -AEM คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป( Prepared Foodstuff product working ) ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality; ACCSQ) • การปรับประสานมาตรฐาน/ข้อกำหนดด้านเทคนิค • การจัดทำกรอบความตกลงการยอมรับร่วม การปรับมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร ♦ วัตถุเจือปนอาหาร ♦ สารปนเปื้อน การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค♦ สุขลักษณะอาหาร ♦ ฉลาก ♦ ระบบการควบคุมอาหาร ♦ แนวทางการตรวจประเมิน GMP HACCP ♦ ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนและออกใบรับรองอาหารนำเข้าและส่งออก

  21. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับความปลอดภัยอาหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับความปลอดภัยอาหาร • นโยบายหลักของกระทรวง • ให้ความสำคัญทั้งความปลอดภัยคนไทยและการส่งออก • ใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือในการจัดการความปลอดภัยอาหาร • - กำหนดมาตรฐาน • - ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผู้ประกอบการนำมาตรฐานไปใช้ • - ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน • การประกาศใช้เครื่องหมายรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร (Q)

  22. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) • ภารกิจหลัก • ภารกิจตามพ.ร.บ.มาตรฐานสินค้าเกษตร • - กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร(มกษ.) ทั่วไป/บังคับ • - อนุญาตผู้ผลิต/ผู้นำเข้า/ผู้ส่งออก สินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ • - ออกใบอนุญาตและรับรอง CB เอกชนที่ให้การรับรอง มกษ. • - ตรวจสอบควบคุมผู้ผลิต/ผู้นำเข้า/ส่งออก สินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ • - ประสานงานและร่วมเจรจาแก้ปัญหาด้านเทคนิคสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช • เป็นศูนย์ประสานงานกับองค์กรกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ (Codex/OIE/IPPC) และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศและมาตรฐานภูมิภาค • เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศด้านการมาตรฐาน www.acfs.go.th

  23. พรบ.มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ.2551 สินค้าเกษตรที่ผลิตในประเทศ/นำเข้า ยังไม่มีมาตรฐานบังคับใช้ ส่งผลให้ - สินค้าเกษตรด้อยคุณภาพ - ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค การกำหนดมาตรฐานและการตรวจสอบและรับรอง กลไก

  24. มาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานบังคับ หมายความว่า มาตรฐานที่มีกฎกระทรวงกำหนดให้สินค้าเกษตรต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มาตรฐานทั่วไป หมายความว่า มาตรฐานที่มีประกาศกำหนดเพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน

  25. การกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร กติกา/ข้อตกลงองค์การการค้าโลก มาตรฐานระหว่างประเทศ (Codex/OIE/IPPC) มาตรฐานภูมิภาค (อาเซียน) มาตรฐานระดับประเทศ มาตรฐานกลุ่มผู้ผลิต/ท้องถิ่น

  26. ระบบประกันคุณภาพในสินค้าเกษตรระบบประกันคุณภาพในสินค้าเกษตร GMP GAP GMP GMP/HACCP GMP มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.)

  27. มาตรฐานสินค้าเกษตรที่ประกาศใช้แล้วมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ประกาศใช้แล้ว มกษ. สินค้า 84 เรื่อง ระบบการผลิต 103 เรื่อง 220 เรื่อง ข้อกำหนดทั่วไป 33 เรื่อง มาตรฐานทั่วไป (สมัครใจ)

  28. มาตรฐานสินค้า ลำไย มังคุด ทุเรียน สับปะรด มะม่วง กล้วย ข้าวหอมมะลิไทย หน่อไม้ฝรั่ง พริก กระเจี๊ยบเขียว ลองกอง เงาะ ส้มโอ มะเขือเทศ ส้มเปลือกล่อน ข้าวโพดฝักอ่อน ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ไข่ไก่ เนื้อแพะ เนื้อสุกร กล้วยไม้ ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาหมึก ปลาแล่เยือกแข็ง ปูม้า ปลาทูน่าและโบนิโตในภาชนะบรรจุปิดสนิท ปลากะพงขาว กุ้งเยือกแข็ง หอยแมลงภู่ กุ้งขาวแวนาไม กุ้งกุลาดำ ตัวอย่าง รวม 84 เรื่อง

  29. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับลำไยการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับลำไย การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับ ข้าวหอมมะลิไทย การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มผึ้ง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับหน่อไม้ฝรั่ง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับ กระเจี๊ยบเขียว การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพริก การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดฝักอ่อน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกล้วยไม้ การปฏิบัติที่ดีสำหรับศูนย์รวมน้ำนมดิบ การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 1 การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 2 การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 3 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มเป็ดไข่ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มนกกระทา การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มแพะเนื้อ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคเนื้อ การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์ การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงฆ่าสุกร มาตรฐานระบบการผลิต ตัวอย่าง รวม 103 เรื่อง

  30. มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปมาตรฐานข้อกำหนดทั่วไป สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ วิธีชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง ข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร มาตรการสุขอนามัยพืช : แนวทางการเฝ้าระวัง หลักการทำงานในการวิเคราะห์ความเสี่ยง ข้อปฏิบัติการควบคุมการใช้ยาสัตว์ หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ การประเมินความเป็นไปได้ในการก่อภูมิแพ้ อาหารฮาลาล ตัวอย่าง รวม 33 เรื่อง

  31. ผู้ที่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตรผู้ที่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร • ผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้นำเข้าสินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป • ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐานที่ตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรให้กับผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้นำเข้าสินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป • ผู้จำหน่าย และผู้มีไว้ครอบครองเพื่อจำหน่ายสินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป 32

  32. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับ ใช้กับสินค้าเกษตรที่ต้องควบคุมตามมาตรฐานบังคับ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค เครื่องหมายรับรองมาตรฐานทั่วไป ใช้กับสินค้าเกษตรที่รับรองตามมาตรฐานทั่วไป เพื่อส่งเสริมการผลิต/จำหน่ายสินค้าที่ได้มาตรฐาน มาตรา 56 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานตามมาตรา 54 เว้นแต่เป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้า ที่ได้รับใบรับรองตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป แล้วแต่กรณี

  33. ตัวอย่างการปรับประสานมาตรฐาน: มกษ. GAP พืชอาหาร ASEAN Codex มกษ. GAPพืชอาหาร(มกษ.9001-2556) สินค้า ขายได้ทั่วโลก

  34. การเตรียมความพร้อมด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร เพื่อรองรับ AEC • การจัดทำมาตรฐาน อาจต้องกำหนดมาตรฐานบังคับในสินค้าที่ประเทศไทยมีความพร้อม เพื่อป้องกันการนำเข้าสินค้าด้อยคุณภาพ/คุ้มครองความปลอดภัยผูบริโภค • การตรวจสอบรับรองมาตรฐาน โดยพัฒนาศักยภาพหน่วยตรวจ/เพิ่มจำนวน • พัฒนาระบบแจ้งเตือนความปลอดภัยอาหาร/การตรวจสอบย้อนกลับ ทั้งการส่งออกและนำเข้า • สร้างเครือข่าย/ความร่วมมือให้มีการส่งเสริมและนำมาตรฐานสินค้าเกษตรไปใช้ในทุกระดับการผลิตสินค้าเกษตร 35

  35. ขอบคุณค่ะ

More Related