1 / 32

เหตุผลความจำเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560

แนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับ พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2561 เรืองศักดิ์ สายสิงห์ทอง หัวหน้ากลุ่มงานระเบียบและกฎหมายการคลัง สศค . สนค. เหตุผลความจำเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560

christinea
Télécharger la présentation

เหตุผลความจำเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับพ.ร.บ.วินัยการเงินการคลัง พ.ศ.2561เรืองศักดิ์ สายสิงห์ทอง หัวหน้ากลุ่มงานระเบียบและกฎหมายการคลัง สศค. สนค.

  2. เหตุผลความจำเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้เหตุผลความจำเป็นในการตรากฎหมายฉบับนี้ • เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 • เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่กำหนดกรอบวินัยการคลังไว้เป็นการเฉพาะ • เนื่องจากมีแนวทางการคลังใหม่เพิ่มมากขึ้น • เนื่องจากขาดภาพรวมของการคลังของทั้งประเทศ

  3. เจตนารมณ์ของกฎหมาย • เพื่อให้ฐานะทางการเงินการคลังของรัฐมีเสถียรภาพมั่นคงอย่างยั่งยืน • เพื่อให้มีกรอบการดำเนินการ • ทางการคลังและงบประมาณ • การกำหนดวินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่าย ทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ • การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ

  4. โครงสร้างของ พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังฯ • หมวด 1 บททั่วไป • หมวด 2 นโยบายการเงินการคลัง • หมวด 3 วินัยการเงินการคลัง • หมวด 4 การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ • หมวด 5 การตรวจเงินแผ่นดิน • บทเฉพาะกาล (รวม 87 มาตรา) บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน 2561

  5. คำนิยามที่สำคัญ • หน่วยงานของรัฐ • ส่วนราชการ • รัฐวิสาหกิจ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • เงินนอกงบประมาณ • หนี้สาธารณะ • คลัง

  6. กรุงเทพมหานคร การคลังภาครัฐ การคลังท้องถิ่น

  7. การบริหาร การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การจัดทำบริการสาธารณะ ความอิสระของท้องถิ่น การเงินและการคลัง

  8. ข้อยกเว้นหลักอิสระของท้องถิ่นข้อยกเว้นหลักอิสระของท้องถิ่น การคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น คุ้มครองประโยชน์ของประเทศ ป้องกันการทุจริตและการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ

  9. นโยบายการเงินการคลัง กรุงเทพมหานครต้องนำแผนระยะปานกลางไปใช้ประกอบการพิจารณาในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • จัดเก็บรายได้หรือหารายได้ • การจัดทำงบประมาณ • การก่อหนี้

  10. แผนการคลังระยะปานกลางแผนการคลังระยะปานกลาง • คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลัง ต้องจัดทำแผนเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบ • วัตถุประสงค์ของการทำแผนระยะปานกลาง • เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทหลักสำหรับวางแผนทางการเงินการคลังและงบประมาณของรัฐ • เพื่อใช้เป็นแผนการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี • เพื่อใช้เป็นแผนการบริหารหนี้สาธารณะ • ระยะเวลาของแผนไม่น้อยกว่าสามปี • สิ่งที่ต้องมีในแผนคือ • เป้าหมายและนโยบายการคลัง • สถานและงบประมาณทางเศรษฐกิจ • สถานะและประมาณการการคลัง ซึ่งรวมถึงประมาณการรายได้ รายจ่าย ดุลการคลัง และการจัดการกับดุล • สถานะหนี้สาธารณะของรัฐบาล • ภาระผูกพันทางการเงินการคลังของรัฐบาล

  11. นโยบายการเงินการคลัง (ต่อ) • กิจกรรม มาตรการ หรือโครงการที่ก่อให้เกิดภาระต่องบประมาณ • จัดทำแผนบริหารจัดการ • ประมาณการรายจ่าย/แหล่งเงินที่ใช้ • ประโยชน์ที่จะได้ • กิจกรรม มาตรการ หรือโครงการที่การดำเนินการจะก่อให้เกิดการสูญเสียรายได้ • ให้จัดทำประมาณการการสูญเสียรายได้และประโยชน์ที่จะได้รับ

  12. นโยบายการเงินการคลัง(ต่อ)นโยบายการเงินการคลัง(ต่อ) • กิจกรรม มาตรการ หรือโครงการที่รัฐบาลมอบหมาย หรือโครงการที่รัฐบาลรับภาระชดเชยค่าใช้จ่ายหรือการสูญเสียรายได้จากการดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายต้องดำเนินการดังนี้ • จัดทำประมาณการต้นทุนทางการเงินและการบริหารจัดการที่รัฐต้องรับภาระทั้งหมดและแจ้งให้ ครม. และ กค.ทราบ • จัดทำบัญชีสำหรับการดำเนินกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายแยกต่างหากจากกิจกรรมปกติ • เสนอผลการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมายและผลสัมฤทธิ์ต่อรัฐมนตรี เพื่อเสนอ ครม.และเปิดเผยให้สาธารณชนทราบ

  13. วินัยการเงินการคลัง • รายได้ • รายจ่าย • การจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารสินทรัพย์ของรัฐ • การก่อหนี้และการบริหารหนี้ • เงินนอกงบประมาณและทุนหมุนเวียน • การคลังท้องถิ่น

  14. รายได้ • การจัดเก็บรายได้ที่เป็นภาษีอากร และการยกเว้นหรือการลดภาษี ทำได้เมื่อมีกฎหมายให้อำนาจ ในการดำเนินการต้องพิจารณาถึงความเป็นธรรม เสมอภาค และไม่เลือกปฏิบัติ • เงินที่จัดเก็บต้องนำส่งคลัง เว้นแต่มีกฎหมาย ข้อบัญญัติ ระเบียบกำหนดเป็นอย่างอื่น

  15. รายจ่าย • การก่อหนี้ผูกพันหรือจ่ายเงิน • ต้องอาศัยอำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย • ต้องคำนึงถึงความโปร่งใส คุ้มค่าและประหยัด • ผู้มีอำนาจอนุมัติการจ่ายเงิน มีหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้จ่ายให้เป็นไปตามกฎหมาย • กทม.ต้องวางหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการเบิกเงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ • การก่อหนี้ที่ผูกพันการใช้จ่ายเงินต้องพิจารณาภาระทางการเงินและข้อผูกพันในการชำระเงิน และประโยชน์ที่จะได้รับ

  16. การจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สินการจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สิน • ต้องเป็นไปตามกฎหมาย • ต้องพิจารณาประโยชน์ของรัฐและประชาชน ความคุ้มค่า และประหยัด • ต้องทำด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และมีการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม • ต้องไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินนั้น

  17. การจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สิน(ต่อ)การจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สิน(ต่อ) • การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ • ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐโดยเคร่งครัด • ต้องดำเนินการด้วยความสุจริต คุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และตรวจสอบได้

  18. การก่อหนี้และการบริหารหนี้การก่อหนี้และการบริหารหนี้ • ต้องเป็นไปตามกฎหมาย อยู่ภายใต้วัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของ กรุงเทพมหานคร • ต้องกระทำด้วยความรอบคอบ และคำนึงถึง เรื่องดังต่อไปนี้ • ความคุ้มค่า และความสามารถในการชำระหนี้ • การกระจายภาระการชำระหนี้ • เสถียรภาพ ความยั่งยืนทางการคลัง • ความน่าเชื่อถือของประเทศและของกรุงเทพมหานคร

  19. การก่อหนี้และการบริหารหนี้(ต่อ)การก่อหนี้และการบริหารหนี้(ต่อ) • การกู้เงินที่รัฐบาลค้ำประกันการชำระหนี้ • ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะโดยเคร่งครัด • การเบิกจ่ายเงินกู้ • ต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการกู้เงินและระเบียบการเบิกจ่ายเงินกู้อย่างเคร่งครัด • ต้องใช้จ่ายอย่างโปร่งใส คุ้มค่า และประหยัด

  20. การก่อหนี้และการบริหารหนี้(ต่อ)การก่อหนี้และการบริหารหนี้(ต่อ) • ทำแผนการกู้เงินและการบริหารหนี้เงินกู้ • ก่อนเริ่มปีงบประมาณต้องจัดทำแผนการกู้เงินและการบริหารหนี้เงินกู้ ส่งให้ กค. และเมื่อกู้แล้วต้องรายงานให้ กค.ทราบด้วย • หลังสิ้นปีงบประมาณ 30 วัน ต้องจัดทำรายงานการกู้เงิน และสถานะหนี้เงินกู้คงค้างให้ กค. ทราบ

  21. เงินนอกงบประมาณและทุนหมุนเวียนเงินนอกงบประมาณและทุนหมุนเวียน • เงินนอกงบประมาณให้มีเท่าที่จำเป็น โดยเป็นไปตามกฎหมายของกรุงเทพมหานคร • การจัดตั้งทุนหมุนเวียนทำได้ต้องมีกฎหมายเฉพาะให้อำนาจเท่านั้น

  22. การคลังท้องถิ่น • กรุงเทพมหานคร ต้องดำเนินการด้านต่างๆ ดังนี้ • การจัดเก็บรายได้ (ม. 64) • การจัดทำงบประมาณ การใช้จ่าย การก่อหนี้ผูกพัน และการบริหารทรัพย์สิน (ม.65) • การจัดทำงบประมาณประจำปี (ม.66) • การก่อหนี้ของกรุงเทพมหานครต้องดำเนินการตาม พรบ.ระเบียบบริหาร กทม. (ม.67)

  23. การจัดเก็บรายได้ • หลักการ: ต้องจัดเก็บรายได้ให้เพียงพอในการจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ

  24. การจัดทำงบประมาณแบบสมดุลการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล

  25. การจัดทำงบประมาณแบบขาดดุลการจัดทำงบประมาณแบบขาดดุล

  26. การจัดทำงบประมาณ การใช้จ่าย การก่อหนี้ผูกพัน และการบริหารทรัพย์สิน • ต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยพิจารณา • ผลสัมฤทธิ์ • ความคุ้มค่า • ความประหยัด • ภาระทางการคลังที่เกิดขึ้นในอนาคต

  27. การจัดทำงบประมาณประจำปีการจัดทำงบประมาณประจำปี • ต้องปฏิบัติตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการ กทม. และ พรบ.วินัยการเงินการคลังโดยต้องพิจาณา • ฐานะทางการคลัง • ความจำเป็นที่ต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณ • การจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณนั้น

  28. การก่อหนี้ • การกู้เงินหรือการออกพันธบัตร ต้องอยู่ภายใต้ พรบ.วินัยการเงินการคลังและกฎหมายว่าด้วยการบริหาร หนี้สาธารณะ • การกู้เงินจากต่างประเทศหรือการกู้เป็นเงินตราต่างประเทศ ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีก่อน

  29. การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ • ต้องจัดทำบัญชีและรายงานการเงิน • ต้องจัดให้มีผู้ทำบัญชีเพื่อจัดทำบัญชีและรายงานการเงิน • ต้องทำรายงานการเงินประจำปีงบประมาณ • ต้องส่งรายงานการเงิน

  30. การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ(ต่อ) • การเปิดเผย และเผยแพร่รายงานการเงินประจำปี • ส่งรายงานการเงินประจำปีพร้อมกับรายงานผลการตรวจสอบของ สตง. ให้ กค. สงม. และกระทรวงมหาดไทยทราบ (ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงานผลการตรวจสอบจาก สตง.)

  31. การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบการตรวจสอบ(ต่อ) • การตรวจสอบ • ต้องจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง • ต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่ กค.กำหนด

  32. สวัสดีครับ

More Related