1.24k likes | 1.46k Vues
ก.พ.ร. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548. ประเด็นการนำเสนอ. วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report)
E N D
ก.พ.ร. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548
ประเด็นการนำเสนอ • วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report) • ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล • การรายงานผลการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report) • แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า • วิธีการคำนวณผลการประเมิน • ตัวอย่างการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
PLAN ACT DO CHECK วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการ • เพื่อให้ส่วนราชการรายงานผลการประเมินผลตนเองให้ถูกต้องตรงตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • เพื่อให้ส่วนราชการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ในรอบ 1 ปี • ปัจจัยแห่งความสำเร็จต่อผลการดำเนินงาน • ปัจจัยที่เป็นปัญหา/อุปสรรคต่อผลการดำเนินงาน • เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และการกำหนดเป้าหมายในปีถัดไป
15 พ.ค. – 10 ก.ค. 48 กระทรวง/ กลุ่มภารกิจ/มหาวิทยาลัย 1 ส.ค.- 31 ต.ค. 48 31 มี.ค. 48 31 มี.ค. 48 15 เม.ย. 48 15 ก.ค. 48 รายงานรอบ 6 เดือน - SAR และ SAR CARD คำขอการเปลี่ยนแปลง แก้ไข รายละเอียดตัวชี้วัด สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาประเมินผล กระทรวง/ กลุ่มภารกิจ/มหาวิทยาลัย ติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 1 รายงานรอบ 9 เดือน - SAR CARD ที่ปรึกษาสำรวจความพึงพอใจ ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล
ม.ค. 48 10 ต.ค. – 30 พ.ย. 48 31 ต.ค. 48 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาประเมินผล ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/ นำเสนอคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงและ ประเมินผล รายงานรอบ 12 เดือน - SAR และ SAR CARD ติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 นำผลการประเมินเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ ครั้งที่ นำผลการประเมินเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ ครั้งที่ ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล กระทรวง/ กลุ่มภารกิจ/มหาวิทยาลัย คณะกรรมการเจรจา ข้อตกลงและประเมินผล และสำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี รับข้อมูลผลการปฏิบัติงาน เพิ่มเติมจากกระทรวง/กลุ่มภารกิจ/มหาวิทยาลัย สำหรับตัวชี้วัดที่ได้ข้อมูลหลัง 31 ต.ค. 48 คณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมัติ
รายงานผลการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report) ภายในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548 รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการสำหรับส่วนราชการระดับมหาวิทยาลัย • จัดทำส่วนราชการละ 1 ฉบับ • นำส่งเป็นสำเนาจำนวน 4 ชุด • นำส่งเป็น CD-ROM จำนวน 1 ชุด
แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการระดับมหาวิทยาลัย
แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า • ปกรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของส่วนราชการระดับมหาวิทยาลัย สารบัญ • ตารางสรุปผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า • รายงานสรุปผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่ารายตัวชี้วัด • ภาคผนวก • หลักฐานอ้างอิงประกอบตัวชี้วัด
ปกรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการปกรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ใส่ชื่อส่วนราชการ และกระทรวงที่สังกัด
เริ่มจากตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ส่วนราชการ และเรียงตามลำดับตัวชี้วัด เรียงตามลำดับตัวชี้วัด สารบัญรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ตัวอย่าง รอผลการประเมินของศธ.และสกอ.ใส่ค่าคะแนนเท่ากับ N/A ไว้ก่อน
ตัวอย่าง ประเมิน เชิงคุณภาพ ใส่ค่าคะแนนเท่ากับ N/A ไว้ก่อน
ตัวอย่าง รอผลการประเมินจาก ผู้ประเมินอิสระ ใส่ค่าคะแนนเท่ากับ N/A ไว้ก่อน ประเมิน เชิงคุณภาพ ใส่ค่าคะแนนเท่ากับ N/A ไว้ก่อน รอผลการประเมินจากสกอ.ใส่ค่าคะแนนเท่ากับ N/A ไว้ก่อน
หมายเหตุ: สำหรับกระทรวงและกลุ่มภารกิจใช้แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการฯ และวิธีการรายงานเช่นเดียวกับของส่วนราชการ แบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการคามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ • แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ • แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนดำเนินงาน
1. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ
1 2 3 4 1. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ
5 6 1. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ
7 8 9 1. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ
10 11 12 1. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงปริมาณ
ตัวอย่าง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ • ข้อมูลผลการดำเนินงาน : แสดงผลการดำเนินงานของตัวชี้วัด โดยใช้นิยามตามคำรับรองการปฏิบัติราชการซึ่งได้รับ ความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการ ก.พ.ร. แล้ว แสดงวิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งที่มา การวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการคำนวณตามที่กำหนดใน คำรับรองการปฏิบัติราชการ กรณีที่ข้อมูลเป็นตัวเลขประมาณการ หรือใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง ขอให้ส่วนราชการระบุวิธีการสุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งแสดงวิธีการคำนวณโดยละเอียด
ตัวอย่าง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ • ข้อมูลผลการดำเนินงาน :
ตัวอย่าง 27,117 – 25,590 X 100 25,590 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ ใช้วิธีการคำนวณค่าคะแนนที่ได้ของตัวชี้วัด เหมือนแบบที่ 1 ดังนั้น ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ เท่ากับ ร้อยละ 5.96
ตัวอย่าง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับ เกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดไว้ (คำอธิบายเพิ่มเติมในวิธีการคำนวณคะแนนตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก = (ค่าคะแนนที่ได้ x น้ำหนัก) ÷ 100 = (2.9800 x 2) ÷ 100 = 0.0596
ตัวอย่าง ขอให้ส่วนราชการสรุปผลการดำเนินงานพร้อมแนบตัวอย่างเอกสาร/หลักฐานหรือสรุปเอกสาร/หลักฐานที่สำคัญของตัวชี้วัดมาด้วย ส่วนเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ที่ไม่ได้จัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ขอให้ส่วนราชการจัดเตรียมไว้ ณ ส่วนราชการเพื่อพร้อมให้ผู้ประเมินตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติม ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้รับบริการทางวิชาการ
2. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ
1 2 3 4 2. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ
5 6 2. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ
7 8 9 2. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ
10 11 12 2. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นเชิงคุณภาพ
3. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนการดำเนินงาน
1 2 3 4 3. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนการดำเนินงาน
5 6 3. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนการดำเนินงาน
7 8 9 3. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนการดำเนินงาน
10 11 12 3. แบบฟอร์มสำหรับตัวชี้วัดที่เป็นขั้นตอนการดำเนินงาน
วิธีการคำนวณผลการประเมินวิธีการคำนวณผลการประเมิน
วิธีการคำนวณผลการประเมินวิธีการคำนวณผลการประเมิน วิธีการคำนวณผลการประเมิน สามารถแบ่งได้เป็น 5 แบบ ดังนี้ 1 การคำนวณผลการประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 2 การคำนวณผลการประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณมากกว่า 1 ตัว 3 การประเมินตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) 4 การประเมินตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) 5 การประเมินตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 13 17 21 25 29 ผลการดำเนินงาน 26 ผลการดำเนินงานจริงที่ได้ แบบที่ 1 การคำนวณผลการประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวอย่างที่ 1 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออก ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง : ร้อยละ 26
ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินงาน 3.75 ผลการดำเนินงานจริงที่ได้ แบบที่ 1 การคำนวณผลการประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวอย่างที่ 2: ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง: ประหยัดได้ร้อยละ 3.75
แบบที่ 2 การคำนวณผลการประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณมากกว่า 1 ตัว • ตัวอย่าง: ร้อยละของความสำเร็จตามเป้าหมายของผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) • (น้ำหนัก : ร้อยละ 2) โดยให้น้ำหนักของผลผลิตแต่ละรายการรวมกันกับ 1 • และมีวิธีการคำนวณคะแนนของตัวชี้วัดดังนี้ ดังนี้ เปรียบเทียบร้อยละของผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดย่อย กับ เกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดไว้ดังนี้ เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเป้าหมายตามแผนที่กำหนดไว้
ตัวอย่าง ก ข แบบที่ 3 การประเมินตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) ประเมินผลความสำเร็จจากความคืบหน้าของผลการดำเนินงานตามขั้นตอน/แผนงาน/โครงการเทียบกับแผนงานที่กำหนด แล้วพิจารณาให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนด ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ตัวอย่าง : ผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ก และ มหาวิทยาลัย ข ในตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ก ข แบบที่ 3 การประเมินตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone)
ผลการประเมิน คะแนนที่ได้รับ ผ่าน/สำเร็จ 5 ไม่ผ่าน/ไม่สำเร็จ 1 แบบที่ 4 การประเมินตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) ประเมินผลความสำเร็จจากผลการดำเนินงานเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนที่มีระดับคะแนน 2 ระดับ คือ ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ตัวอย่าง: ตัวชี้วัด ผลสำเร็จของการจัดทำผังเมืองรวม ส่วนราชการสามารถดำเนินการจัดทำผังเมืองรวมได้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 ดังนั้น เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การให้คะแนนจะได้เท่ากับระดับคะแนน 5
ตัวอย่าง แบบที่ 5 การประเมินตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ตัวอย่าง : การประเมินผลตัวชี้วัดระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ
แบบที่ 5 การประเมินตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ • พิจารณาผลการดำเนินงาน โดยที่ : • การประเมินผล ผู้ประเมินจะกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งส่วนราชการ • ออกเป็นกลุ่มๆ เช่น S (small) M (medium) L (large)เพื่อพิจารณาผล • คะแนนของส่วนราชการในแต่ละกลุ่มแยกจากกัน โดยจะพิจารณาผลการ • ดำเนินงานตามแนวทางการประเมินผลแต่ละประเด็นเปรียบเทียบระหว่าง • ส่วนราชการที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเพื่อหาส่วนราชการที่มีการดำเนินงานเป็น • แบบอย่างที่ดีที่สุด (Best Practice) เป็นมาตรฐานในการพิจารณาการให้ • คะแนนสำหรับส่วนราชการอื่นๆ ในกลุ่มต่อไป • การพิจารณาให้คะแนนระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของ • ส่วนราชการ ที่ปรึกษาจะหารือและขอความเห็นจากคณะผู้เชี่ยวชาญด้าน • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ถึงความจำเป็นและความ • เหมาะสมด้านต่างๆ ตามประเด็นการประเมินผลที่กำหนดไว้
กรณีภายในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548 หากตัวชี้วัดใดไม่สามารถรายงานผลได้เนื่องจาก • เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานอื่น เช่น ความพึงพอใจของผู้รับบริการใช้ข้อมูลจาก สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นต้น • ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลไม่ทัน • ตัวชี้วัดที่ต้องมีการประเมินเชิงคุณภาพ ฯลฯ • ให้ใส่ค่าคะแนนที่ได้เท่ากับ N/A มาก่อน ประเมินผลเฉพาะตัวชี้วัด ที่รายงานผลได้ภายใน วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548 สำหรับตัวชี้วัดยังไม่สามารถ รายงานผลได้ จะประเมิน ให้คะแนนในระดับ 1 (ต่ำสุด) และจัดสรรสิ่งจูงใจ ในส่วนหนึ่งก่อน ภายหลังจากได้รับผลการ ดำเนินงานส่วนที่เหลือ ครบถ้วนแล้ว จะประเมินผล ภาพรวมทั้งหมด และจัดสรร สิ่งจูงใจในส่วนที่เหลือ การประเมินผลตัวชี้วัดที่รายงานผลล่าช้ากว่ากำหนด ภายในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548 แนวทางการประเมินผลและจัดสรรสิ่งจูงใจ แบ่งเป็น 2 ช่วง
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของยุทธศาสตร์ตามที่ได้รับ งบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2: มิติด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุน ยุทธศาสตร์ มิติที่ 3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ และการประหยัด ค่าใช้จ่าย เป็นต้น
3 ประเด็นการประเมินผล มิติ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 40) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ (น้ำหนัก : ร้อยละ 60) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) คุณภาพการให้บริการ การป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ การบริหารความรู้ ในองค์กร การลดค่าใช้จ่าย การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ การจัดการสารสนเทศ การบริหาร การเปลี่ยนแปลง การพัฒนากฎหมาย
3 แบบฟอร์มที่ต้องใช้สำหรับแต่ละตัวชี้วัด
3 แบบฟอร์มที่ต้องใช้สำหรับแต่ละตัวชี้วัด