1 / 31

การใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี

การใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี กลุ่มพัฒนาเครือข่าย สถาบันราชานุ กูล. T hai D evelopmental S kills I nventory ( TDSI ) แบบประเมินเพื่อป้องกันปัญหาพัฒนาการ.

Télécharger la présentation

การใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้คู่มือประเมินและป้องกันการใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี กลุ่มพัฒนาเครือข่าย สถาบันราชานุกูล

  2. Thai DevelopmentalSkills Inventory(TDSI) แบบประเมินเพื่อป้องกันปัญหาพัฒนาการ

  3. พ.ศ.2552 สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ได้ศึกษาและวิจัยพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพื่อพัฒนาแบบประเมินฉบับใหม่ ที่เข้าใจง่าย เหมาะสมกับยุคสมัยโดยพัฒนามาจาก - คู่มือ DSI สถาบันราชานุกูล - แบบประเมินพัฒนาการ DISC - แบบประเมิน Denver II ที่มาของเครื่องมือ

  4. - ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) คู่มือคัดกรอง=.97 คู่มือส่งเสริม =.98 - ค่าความไว (Sensitivity) เท่ากับ .91 คุณภาพของเครื่องมือ

  5. แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 5 ปี(TDSI) มีจำนวน 70 ข้อ แบ่งเป็น 5 ด้าน 14 ช่วงอายุ

  6. 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 4. ขั้นตอนสรุป ขั้นตอนการใช้แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี(TDSI)

  7. 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมตัวผู้คัดกรอง 1.2 การเตรียมอุปกรณ์ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1.4 การเตรียมเด็ก

  8. 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมตัวผู้คัดกรอง • ศึกษาวิธีการใช้และทำความเข้าใจรายละเอียดของคู่มือ(ทักษะ วิธีการคัดกรอง เกณฑ์การตัดสิน การใช้อุปกรณ์) • เตรียมคำพูดที่จะถามล่วงหน้า • ทดลองทำก่อน 1.2 การเตรียมอุปกรณ์ • เตรียมให้ครบ ตามหมวดหมู่ • เปิดใช้ครั้งละ 1 ชุด • ทำความสะอาดหลังใช้

  9. 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.3 การเตรียมสถานที่ • เป็นสัดส่วน อากาศถ่ายเท • พื้นสะอาด ปลอดภัย ไม่ลื่น ไม่มีของมีคม • ไม่มีสิ่งกระตุ้น/เร้าความสนใจ เช่น ทีวี ภาพสีฉูดฉาด • มีเบาะ โต๊ะ หรือเก้าอี้ เหมาะกับวัยเด็ก • ให้เด็กนั่งหันหลังให้สิ่งรบกวน 1.4 การเตรียมเด็ก • ไม่ป่วย ไม่หิว ไม่ง่วง หรืออิ่มเกินไป • ขับถ่ายให้เรียบร้อยก่อน • ให้เล่นอิสระหรือปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมก่อนคัดกรอง

  10. แรกเกิด-6 เดือน - ยิ้มแย้ม พูดเสียงนุ่มนวล ชวนคุย (“หนูใส่เสื้อสวยจัง” “กินนมอิ่มหรือยังค่ะ” - ถ้าร้องไห้ อุ้มปลอบโยน หาสาเหตุ 7 เดือน -2 ปี - ถามผู้ปกครองเรื่องบุคลิกภาพพื้นฐานของเด็ก(“ชอบกิน/เล่นอะไร”) - ยิ้มกับเด็ก พูดนุ่มนวล ชวนเล่นของเล่น - หากเด็กสนใจทำหน้าตา/เสียงให้น่าสนใจ(เสียงสูงต่ำ ฯลฯ) 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก

  11. 2-3 ปี - ชวนพูดคุย ชวนเล่นของที่เด็กสนใจ 3-5 ปี - วัยที่พูดโต้ตอบได้ ให้คุยกับเด็กเอง 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก

  12. 3.1 แนะนำตัวเอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก 3.3.เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.4 ประเมินให้ครบทุกทักษะทุกด้าน 3.5 บันทึกผลการทดสอบและสรุปผล 3. ขั้นตอนการคัดกรอง

  13. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.1 แนะนำตัวเอง • บอกว่าเราเป็นใคร • จะทำอะไร คำนึงถึง ผู้ฟังว่าเข้าใจตรงกันกับเราหรือไม่ (ทดสอบ ประเมิน พัฒนาการ) • ตกลงบริการ ( พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดู ทำอะไรได้บ้าง ไม่ควรทำอะไร)

  14. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก (ไม่คำนวณคลอดก่อนกำหนด)

  15. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก (ไม่คำนวณคลอดก่อนกำหนด)

  16. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.3 เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.3.1 จะเริ่มข้อที่ต่ำกว่าอายุจริง 1 ช่วงอายุหรือช่วงอายุจริง (ดูจากผลของอนามัย 55 โดยเริ่มทักษะใดก่อนก็ได้) 3.3.2 เด็กทำได้ตั้งแต่เริ่มต้นใส่ผลการทดสอบ(เครื่องหมาย +) แล้วทดสอบข้อที่อยู่ในช่วงอายุที่สูงขึ้นไปจนเด็กไม่ผ่านข้อทดสอบ ใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย -) แล้วหยุด

  17. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.3 เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.3.3 กรณีเด็กทำไม่ได้ตั้งแต่เริ่มต้นใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย-) ให้ถอยไปทดสอบข้อที่อยู่ในช่วงอายุที่ต่ำกว่าจนเด็กผ่านข้อทดสอบ ใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย +) แล้วหยุด 3.3.4 ในช่วงอายุใดที่มีข้อทดสอบ 2 ข้อ หากข้อใดไม่ผ่านให้ใส่(เครื่องหมาย -) และข้อที่ผ่านให้ใส่(เครื่องหมาย +) และในด้านนั้นแปลผลทดสอบว่ายังไม่ผ่าน 3.3.5 ในช่วงอายุที่ไม่มีข้อทดสอบให้ถือว่าเด็กผ่านการทดสอบในช่วงอายุนั้น

  18. 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.4 ประเมินให้ครบทุกด้าน/ทักษะในช่วงอายุนั้นๆ 3.5 บันทึกผลการทดสอบและสรุปผลการทดสอบในช่องสรุปผลการใช้แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปี หมายเหตุ : ในกรณีที่คัดกรองเพื่อติดตามพัฒนาการในครั้งต่อไป ให้เริ่มต้นทดสอบข้อที่เด็กทดสอบไม่ผ่านในครั้งที่ผ่านมา

  19. ตัวอย่างการบันทึกและสรุปผลการประเมินตัวอย่างการบันทึกและสรุปผลการประเมิน

  20. 4.1 สรุปผลการคัดกรองและแจ้งผู้ปกครอง - ขอบคุณพ่อแม่ - บอกจุดแข็ง (ด้านที่มีพัฒนาการมากกว่าอายุจริง เท่าอายุจริง) - บอกด้านที่ต้องพัฒนา (ด้านที่ต่ำกว่าอายุจริง) ระวังอย่าให้พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูใจเสีย 4. ขั้นตอนสรุป 4.2 แนะนำผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านในข้อที่ไม่ผ่าน

  21. 1) แนะนำให้ผู้ปกครองเด็กส่งเสริมพัฒนาการเด็กในข้อทดสอบที่เด็กไม่ผ่าน 2) เจ้าหน้าที่สาธิตการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในข้อนั้นๆ ให้ผู้ปกครองดูเป็นตัวอย่าง 3) ให้ผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่องที่บ้านโดยการใช้อุปกรณ์เทียบเคียงกับอุปกรณ์มาตรฐาน 4) แนะนำผู้ปกครองเชื่อมโยงการนำไปใช้กับชีวิตประจำวัน **ทำการประเมินพัฒนาซ้ำ หลังจากให้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กแล้ว 1 เดือน วิธีการแนะนำผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

  22. 1. คำพูดที่ใช้ควรง่าย สั้น ชัดเจน และคงที่ 2. ให้เวลาเด็กปฏิบัติตาม 3 – 5 วินาที ถ้าเด็กยังไม่ได้ทำ ให้พูดซ้ำ( ข้อความเหมือนเดิม ) พร้อมกับการให้ความช่วยเหลือ 3. ให้ความช่วยเหลือเด็กเท่าที่จำเป็น 3.1 ทางกาย : จับมือทำ แตะข้อศอกกระตุ้น 3.2 ทางวาจา : บอกให้เด็กทราบ 3.3 ทางท่าทาง : ชี้ ผงกศีรษะ ส่ายหน้า หลักการส่งเสริมพัฒนาการ

  23. 4. เมื่อเด็กเกิดการเรียนรู้ เปลี่ยนข้อความ แต่มี ความหมายเหมือนเดิม 5. การให้แรงเสริม ให้ทันทีเมื่อเด็กทำได้ถูกต้อง เช่น ชมเชย ยิ้ม ปรบมือ สัมผัส ให้ขนม เป็นต้น ควรคำนึงถึง - เหมาะสมกับวัย เด็กแต่ละคนชอบไม่เหมือนกัน - ให้แรงเสริมบ่อย : เมื่อต้องการให้เกิดทักษะ/ พฤติกรรมใหม่ - ลดแรงเสริมเมื่อเด็กทำได้แล้ว - ควรขัดขวางไม่ให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ หรือป้องกันไม่ให้เด็กทำสิ่งที่ผิด เช่น ใช้มือปิด สิ่งที่ไม่ถูกต้อง หลักการส่งเสริมพัฒนาการ

  24. เด็กชายไทย เกิดวันที่ 17 สิงหาคม 2555 คำนวณอายุ = ผลการประเมินพัฒนาการด้วยอนามัย 55: ใช้ช้อนกินอาหาร ต่อก้อนไม้ 2 ก้อน พูดได้ 3 คำ วิ่ง กรณีตัวอย่าง 1 ปี 6 เดือน 26 วัน(18 ด.) × × √ √ ประเมินซ้ำด้วย TDSI : 70

  25. กรณีตัวอย่าง : ผลการทดสอบพัฒนาการ

  26. กรณีตัวอย่าง :ผลการทดสอบพัฒนาการ

  27. กรณีตัวอย่าง :ผลการทดสอบพัฒนาการ

  28. จากกรณีตัวอย่าง : บันทึกและสรุปผลการประเมิน สอนและให้คำแนะนำกลับไปฝึกต่อที่บ้านทั้งของ TDSI และอนามัย 55 กลับมาประเมินซ้ำด้วย TDSI และอนามัย 55

  29. จากกรณีตัวอย่าง : สรุปพัฒนาการของเด็ก (อายุจริง 18 เดือน) ทักษะที่แนะนำผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการที่บ้าน 1 เดือน 1. ขีดเขียน(เป็นเส้น)บนกระดาษได้ 2. เล่นการใช้สิ่งของตามหน้าที่ได้มากขึ้นด้วยความสัมพันธ์ของ 2 สิ่งขึ้นไป 3. ใช้ช้อนกินอาหาร (อนามัย55) 4. ต่อก้อนไม้ 2 ก้อน(อนามัย55) กลับมาประเมินซ้ำด้วย TDSI และอนามัย 55

  30. ขอบคุณค่ะ

More Related