1 / 16

โครงการ ภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2

โครงการ ภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2. โครงการ การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ. รายละเอียดโครงการฯ. ชื่อโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมโครงการ แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ ระยะเวลาโครงการ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน.

claire
Télécharger la présentation

โครงการ ภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 โครงการ การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 1

  2. รายละเอียดโครงการฯ • ชื่อโครงการ • หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ • วัตถุประสงค์ • กิจกรรมโครงการ • แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ • ระยะเวลาโครงการ • งบประมาณ • ผลการดำเนินงาน

  3. ชื่อโครงการ : การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ : สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

  4. วัตถุประสงค์ : • เพื่อนำผลการสำรวจด้านการวัดและการอบรม ใช้สนับสนุนการจัดตั้ง ห้องปฏิบัติการสอบเทียบใน 4 ภูมิภาค • เพื่อบรรเทาการขาดแคลนบุคลากรด้านมาตรวิทยา และเพิ่มทักษะให้แก่ นักมาตรวิทยา • เพื่อสถาปนามาตรฐานแห่งชาติ โดยสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร เพื่อให้เกิดการยอมรับผลการวัดและทดสอบ • เพื่อพัฒนาบุคลากรของสถาบันฯ โดยเพิ่มปริมาณและคุณภาพวิทยากร นักมาตรวิทยา และพนักงานในงานสนับสนุน เพื่อสนับสนุนโครงการนี้ให้ลุล่วง • เพื่อบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดความแม่นยำสูงให้กับโรงงานอุตสาหกรรม และห้องปฏิบัติการสอบเทียบ โดยสามารถสอบกลับสู่มาตรฐานแห่งชาติ

  5. กิจกรรมโครงการ : • การสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรม • การพัฒนาหลักสูตรการสอน • การจัดอบรม สัมมนา • การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • การจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานการจัดอบรม สัมมนา • การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯ • การจัดการมาตรฐานแห่งชาติ เพื่อสนับสนุน 3 อุตสาหกรรม

  6. กิจกรรม/เป้าหมาย : • กิจกรรม หน่วย เป้าหมาย • 2544 2545 • 1. การสำรวจอุตสาหกรรม โรงงาน 500 500 • 2. การพัฒนาหลักสูตร และการพัฒนาบุคลากร หลักสูตร 2 2 • 3. การอบรมมาตรวิทยาเชิงปฏิบัติการ คน 600 500 • 4. การสัมมนามาตรวิทยาวงกว้าง คน 600 1,400 • 5. การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ คน-เดือน 3 3 • 6. การจ้างพนักงานชั่วคราวจัดอบรม สัมมนา คน 2 2 • 7. การประชาสัมพันธ์ • 8. การจัดหามาตรฐานแห่งชาติ ชิ้น 100 500

  7. แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ : • ข้อมูลจากผลการสำรวจอุตสาหกรรม • รายงานผลการดำเนินโครงการรายเดือน • รายงานผลการดำเนินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ • รายงานผลการศึกษาความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในด้านการวัดและการอบรม • รายงานสถานภาพและฐานข้อมูลของห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่มีในปัจจุบัน • รายงานผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการตั้งห้องปฏิบัติการสอบเทียบใน 4 ภูมิภาค • รายงานผลการถ่ายทอดค่าวัดจากเครื่องมือมาตรฐานของสถาบันฯ ไปยังเครื่องมือวัดในระดับรอง (Multiplier Effect) • รายงานผลการสำรวจการจัดอบรม/สัมมนา • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการสอบเทียบ

  8. ระยะเวลาโครงการ : ตุลาคม 2543 - กันยายน 2545 งบประมาณ : ปี ครม.อนุมัติ สำนักงบประมาณอนุมัติ 2544 44,741,000.- 44,741,000.- 2545 11,010,000.- 9,696,900.- รวม 55,751,000.- 54,437,900.-

  9. การสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรมการสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรม • การสำรวจความต้องการด้านการสอบเทียบ 460 แห่ง • การสำรวจความเป็นไปได้ในการตั้งห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 4 ภูมิภาค 43 แห่ง • การสำรวจความต้องการสอบเทียบด้าน Flow 17 แห่ง • การสำรวจความต้องการสอบเทียบด้าน Force 35 แห่ง • การสำรวจฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 68 แห่ง • การสำรวจผลการถ่ายทอดค่าวัดของภาคอุตสาหกรรม 191 แห่ง รวม 814 แห่ง

  10. การพัฒนาหลักสูตรการสอน (1) • ปี 2544 พัฒนาหลักสูตรทั้งสิ้น 6 หลักสูตร ได้แก่ • หลักสูตรระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดตาม ISO9000:2000 (ปรับปรุงให้ทันสมัย) • หลักสูตรระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025 • หลักสูตรการสอบเทียบเครื่องชั่งอิเลกทรอนิกส์ • หลักสูตรการสอบเทียบตุ้มน้ำหนักมาตรฐานตาม OIML R-111 (CD) • หลักสูตรการสอบเทียบ Dial Gauge & Height Gauge • หลักสูตรการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

  11. การพัฒนาหลักสูตรการสอน (2) • ปี 2545 พัฒนาหลักสูตรทั้งสิ้น 3 หลักสูตร ได้แก่ • หลักสูตรความไม่แน่นอนของการวัดสำหรับช่างเทคนิค • หลักสูตรห้องปฏิบัติการสอบเทียบ กับการบริหารเชิงปฏิบัติการ • หลักสูตรการสอบเทียบการวัด และความถี่

  12. การจัดอบรมมาตรวิทยาสัญจรการจัดอบรมมาตรวิทยาสัญจร • มี.ค. 44 จำนวน 4 หลักสูตร (จ.ชลบุรี) 105 คน • เม.ย. 44 จำนวน 3 หลักสูตร (จ.พระนครศรีอยุธยา) 38 คน • มิ.ย. 44 จำนวน 3 หลักสูตร (จ.เชียงใหม่) 82 คน • ส.ค. 44 จำนวน 4 หลักสูตร (จ.สงขลา) 90 คน • ก.ย.-พ.ย. 44 จำนวน 11 หลักสูตร (กทม.) 361 คน • ก.พ.-เม.ย. 45 จำนวน 6 หลักสูตร (กทม.) 196 คน • มิ.ย. 45 จำนวน 4 หลักสูตร (กทม.) 110 คน รวม 982 คน

  13. การจัดสัมมนาวงกว้าง • 2 มี.ค. 44 MSTQ (จ.ชลบุรี) 163 คน • 10 พ.ค. 44 MSTQ (จ.เชียงใหม่) 138 คน • 7 มิ.ย. 44 ครบรอบ 3 ปี (กทม.) 485 คน • 12 ก.ค. 44 MSTQ (จ.สงขลา) 172 คน • 8 ส.ค. 44 MSTQ (จ.นครราชสีมา) 160 คน • 29 พ.ค. 45 ครบรอบ 4 ปี (กทม.) 496 คน • 4 ก.ค. 45 สัมมนาด้านไฟฟ้า 99 คน รวม 1,713 คน

  14. การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศการจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • 27 ต.ค. - 3 พ.ย. 44 จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดการไหล (Flow) จากประเทศญี่ปุ่น คือ Dr. Masaki Takamoto • 1-30 เม.ย. 45 และ 1-30 พ.ย. 45 จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญ ด้านการวัดแรงและแรงบิด (Force and Torque) จากประเทศจีน คือ Prof. Dr. Li Qingzhong

  15. การจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานในการจัดอบรม/สัมมนาการจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานในการจัดอบรม/สัมมนา • ปี 2544 จำนวน 2 คน • ปี 2545 จำนวน 2 คน

  16. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯ • วารสาร Metrology Info รายไตรมาส • หนังสือ Annual Report ประจำปี 2543 • จัดพิมพ์ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการสอบเทียบปี 2544 • การแถลงข่าว และการเผยแพร่ข่าวสารผ่านสื่อมวลชนต่างๆ • การจัดนิทรรศการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ • การพัฒนา Web Server

More Related