1 / 87

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย นางจันทร์จิรา โพธิ์ทองนาค นายสิทธิกร ขวัญดี สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

clare-best
Télécharger la présentation

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย นางจันทร์จิรา โพธิ์ทองนาค นายสิทธิกร ขวัญดี สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 13.00 – 15.00น.ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพ

  2. ขอบเขต 1.พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 2.แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 3.บทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่น ตามแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 – 2557 4.การป้องกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ โรคแมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด โรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ ตามกรอบ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2557 5.แผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ... (แผน อปท.) 6.ปฏิทินภัย

  3. หัวข้อที่ 1พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550

  4. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยDEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATIONMINISTRY OR INTERIOR พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 • มีผลใช้บังคับ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 • ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 (ม.3) • ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2542 (ม.3)

  5. สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 • มาตรา 6 และมาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) มีอำนาจหน้าที่ กำหนดนโยบายในการจัดทำแผน ปภ.ชาติ และให้ความ เห็นชอบแผนก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี ฯลฯ • มาตรา 11 ให้ ปภ.เป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการ ดำเนินการเกี่ยวกับการ ปภ.ของประเทศ โดยมีอำนาจ หน้าที่จัดทำแผน ปภ.ชาติเสนอโดย กปภ.ช. เพื่อขออนุมัติ ต่อคณะรัฐมนตรี ฯลฯ • มาตรา 12 บัญญัติสาระสำคัญของแผน ปภ.ชาติ

  6. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 • มาตรา 15 บัญญัติอำนาจหน้าที่ของ ผวจ. (ผู้อำนวยการจังหวัด) • มาตรา 16 บัญญัติสาระสำคัญของแผน ปภ.จังหวัด • ตามมาตรา 12 และสาระสำคัญอื่นๆ • มาตรา 18 บัญญัติอำนาจหน้าที่ของ นายก อบจ. (รองผู้อำนวยการจังหวัด) • มาตรา 20 บัญญัติอำนาจหน้าที่ของ นายก อบต./ • นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา (ผู้อำนวยการท้องถิ่น) • มาตรา 20 บัญญัติอำนาจของ ปลัด อบต./ปลัดเทศบาล/ • ปลัดเมืองพัทยา (ผช.ผอ.ท้องถิ่น)

  7. มาตรา 4 : นิยาม “สาธารณภัย” “ “สาธารณภัย”หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชนหรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ และให้ความหมายรวมถึง ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย

  8. มาตรา 6 และ 7 : คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) ประธาน :นรม. รองประธานคนที่ 1:รมว.มท. รองประธานคนที่ 2 :ปมท. กำหนดนโยบายในการจัดทำแผนฯ  ให้ กปภ.ช.เห็นชอบแผนฯ  บูรณาการพัฒนาระบบป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย  ให้คำแนะนำ ปรึกษา สนับสนุนการ ปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย  วางระเบียบค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย  อื่นๆ องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ กรรมการ : ป.กห ผบ.สส. ,ผบ.ทบ. ผบ.ทร. , ผบ.ทอ. ,ผบตร. ,ป.พม.ป.กษ. ,ป.ทส. , ป.ทก. ,ป.สธ. ,ป.คค. ,ล.สมช. , ผอ.สนง. ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการและเลขานุการ :อปภ. คณะอนุกรรมการ

  9. มาตรา 11 :ปภ. ในฐานะหน่วยงานกลางของรัฐ บูรณาการหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ

  10. หัวข้อที่ 2แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557

  11. มารู้จักแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๗ กันเถอะ

  12. มารู้จักกับแผน ปภ. ชาติ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติเป็นกรอบงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้หน่วยงานทุกภาคส่วนตั้งแต่ระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยอย่างเป็นระบบ มีทิศทางเดียวกันและเสริมกำลังกันอย่างบูรณาการ โดยมีสาระสำคัญที่เป็นแม่แบบให้แก่แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

  13. กรอบนโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรอบนโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เน้นการป้องกัน 1.พัฒนาและส่งเสริมระบบการป้องกันสาธารณภัย (7 กลยุทธ์) 2.พัฒนาและส่งเสริมระบบการเตรียมความพร้อม (10 กลยุทธ์) เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แผนการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ เน้นการทำงานเชิงรุก 3.พัฒนาการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน (6 กลยุทธ์) 5.พัฒนาระบบเชื่อมโยงหน่วยงานเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ (5 กลยุทธ์) 4.พัฒนาระบบฟื้นฟูบูรณะ (6 กลยุทธ์) เน้นการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

  14. คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2552 1. ให้กระทรวง กรม องค์กร และหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน จัดทำแผนปฏิบัติการและงบประมาณรองรับ 2. ให้สำนักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3. ให้หน่วยงานระดับกระทรวงจัดทำแผนปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร์และบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปี

  15. แผนป้องกันประเทศ แผนผนึกกำลังและทรัพยากร เพื่อการป้องกันประเทศ ความเชื่อมโยงแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติกับแผนอื่นๆ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ แผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติการ ภายใต้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/ แผนแม่บทการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละประเภท แผนหลักการป้องกัน อุบัติภัยแห่งชาติ นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ แผนปฏิบัติการการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย แบบบูรณาการระดับกระทรวง แผนบรรเทา- สาธารณภัย กระทรวงกลาโหม แผนปฏิบัติการ ของ หน่วยปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบัติการตามแผนหลัก การป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กลุ่มจังหวัด/จังหวัด/กทม. สนับสนุน เกื้อกูล แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับพื้นที่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประสานการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล ทบทวน/ปรับปรุง/พัฒนา รายงาน/ประชาสัมพันธ์

  16. สาระสำคัญของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 - 2557

  17. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 ขอบเขต สาธารณภัย  คลอบคลุม 18 ประเภทภัย - ด้านสาธารณภัย 14 ประเภทภัย - ด้านความมั่นคง 4 ประเภทภัย  แบ่งเป็น 4 ระดับ - ขนาดเล็ก - ขนาดกลาง - ขนาดใหญ่ - ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบ ร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับความรุนแรงของ สาธารณภัย การจัดการ • ระดับ 1 ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อำเภอ • ระดับ 2 ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม • ระดับ 3 ผอ.กลาง / ผบ.ปภ.ช. • ระดับ 4 นายกรัฐมนตรี

  18. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 - 2557 ส่วนที่ 2 กระบวนการป้องกันและบรรเทาด้านสาธารณภัย ส่วนที่ 1 หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ 3 การป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมั่นคง สถานการณ์สาธารณภัยและการบริหารจัดการ อุทกภัย และดินโคลนถล่ม การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน นโยบาย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด ภัยจากอัคคีภัย กรอบยุทธศาสตร์ แผนงาน และมาตรการ ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย การป้องกันและลดผลกระทบ การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง การเตรียมความพร้อม การป้องกันและระงับการชุมนุมประท้วงและก่อการจลาจล ภัยแล้ง การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ภัยจากอากาศหนาว การจัดการหลังเกิดภัย ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม การขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ ภัยจากคลื่นสึนามิ ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ ภัยจากโรคแมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 – 2557

  19. สาระสำคัญของส่วนที่ 1 หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ เป็นแผนหลักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ สามารถลดความเสี่ยงและความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและของรัฐให้มีน้อยที่สุดเทียบเท่ามาตรฐานสากล

  20. เพื่อเป็นกรอบและทิศทางให้หน่วยงานทุกภาคส่วนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในทิศทางเดียวกันและเสริมกำลังกันแบบบูรณาการอย่างเป็นระบบ มีการเตรียมความพร้อมทรัพยากรทุกด้านตามลักษณะความเสี่ยงภัย โดยมีการพัฒนาขีดความสามารถอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์

  21. รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตจังหวัด(มาตรา 15) ผอ.จังหวัด (ผวจ.) ช่วยเหลือ ผอ.จว. (มาตรา 18) รอง ผอ.จังหวัด (นายก อบจ.) รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขต กทม. (มาตรา 32) ผอ.กทม. (ผว.กทม.) มีหน้าที่ช่วยเหลือ ผอ.กทม.ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและปฏิบัติหน้าที่อื่นตาม ผอ.กทม.มอบหมาย (มาตรา 35,36) รอง ผอ.กทม (ปลัด กทม.) ผู้ช่วย ผอ.กทม. (ผอ.เขต) รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขตของตน และมีหน้าที่ช่วยเหลือ ผอ.กทม.ตามที่ได้รับมอบหมาย (มาตรา 36) ผอ.ท้องถิ่น (นายก อบต./นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา) ผช.ผอ.ท้องถิ่น (ปลัดเทศบาล ปลัดเมืองพัทยา/ ปลัด อบต.) สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี/ รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย มาตรา 31 ควบคุมและกำกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทั่วราชอาณาจักร (มาตรา 13) ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (รมว.มท.) ช่วยเหลือผู้บัญชาการ มีอำนาจบังคับบัญชาและสั่งการรองจากผู้บัญชาการ (มาตรา 13) รองผู้บัญชาการ (ปมท.) ควบคุมและกำกับการปฏิบัติหน้าที่ของ ผอ./ รอง ผอ./ผช.ผอ.เจ้าพนักงาน และอาสาสมัคร ได้ทั่วราชอาณาจักร (มาตรา 14) ผู้อำนวยการกลาง (อปภ.) สั่งการให้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย / ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ที่กำหนด (มาตรา 31) สาธารณภัย ผอ.อำเภอ (นายอำเภอ) รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตอำเภอ และช่วยเหลือ ผอ.จว.(มาตรา 19) รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตท้องถิ่นของตน และมีหน้าที่ช่วยเหลือ ผอ.จว./ผอ.อ. (มาตรา 20) รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตท้องถิ่นของตน และมีหน้าที่ช่วยเหลือ ผอ.ท้องถิ่น ตามที่ได้รับมอบหมาย (มาตรา 20)

  22. นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง ผบ.ปภ.ช./ รอง ผบ.ปภ.ช/ ผอ.กลาง (รมว.มท. /ป.มท./ อ.ปภ.) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) รองผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ปลัดกรุงเทพมหานคร) ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย) รองผู้อำนวยการจังหวัด (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ) ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เมืองพัทยา กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาล ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกเมืองพัทยา) ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกเทศมนตรี) การจัดตั้งองค์กรปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  23. ผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (มท.1) รองผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (ป.มท.) ผู้อำนวยการจังหวัด (ผว.จ.)/ผู้อำนวยการ กทม.(ผว.กทม.) รอง ผอ.จ (นายก อบจ.)./รอง ผอ.กทม.(ป.กทม.) ผู้อำนวยการท้องถิ่น(นายก อบต./นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา) รองผู้อำนวยการท้องถิ่น(ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) แผนผัง ระบบสั่งการ และปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย สั่งการ ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการกลาง (อ.ปภ.) ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ)/ผู้อำนวยการเขต (ผอ.เขต) ควบคุม/กำกับ หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน ก่อนเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน/ หน่วยร่วมปฏิบัติการ ขณะเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการหลัก หน่วยบรรเทาทุกข์ หลังเกิดเหตุ

  24. การบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทย ครอบคลุมหน่วยงานเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ นายกรัฐมนตรี สั่งการ ประสานงาน กปภ.ช. กปอ. ร้องขอ ประสานงาน ช่วยเหลือ กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ช่วยเหลือ ร้องขอ ร้องขอ ช่วยเหลือ ผบ.ปภ.ช. สั่งการ กระทรวง, กรม กำกับดูแล ร้องขอ ร้องขอ หน่วยงานระหว่างประเทศ สั่งการ ผอ.กลาง ประสานงาน (สั่งการ-ในกรณีของ กห.) สั่งการ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ผอ.ปภ.เขต (ผอ.ศูนย์ ปภ. เขต 1-18) ผอ.จว. หรือ ผอ.กทม. ร้องขอ ร้องขอ กองทัพ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ร้องขอ ร้องขอ สั่งการ ร้องขอ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ สั่งการ ผอ.จว. ข้างเคียง ภาคเอกชน/ มูลนิธิ ผอ.อำเภอ/ผช.ผอ.กทม. ผอ.ท้องถิ่น ช่วยเหลือ สั่งใช้ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ร้องขอ ร้องขอ สั่งการ อปพร. ผอ.อำเภอ/ ผอ.ท้องถิ่นข้างเคียง สมทบ สั่งการ สั่งการ สมทบ หน่วยเผชิญเหตุ/หน่วย สงเคราะห์ผู้ประสบภัย หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ พื้นที่ประสบภัย

  25. ขอบเขตสาธารณภัย • ด้านสาธารณภัยมี 14 ประเภทภัย 1) อุทกภัย และดินโคลนถล่ม 8) ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน 2) ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน 9) ภัยจากแผ่นดินไหว และอาคารถล่ม 3) ภัยจากอัคคีภัย 10) ภัยจากคลื่นสึนามิ 4) ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย 11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ 5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง 12) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด 6) ภัยแล้ง 13) ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ 7) ภัยจากอากาศหนาว 14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

  26. ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ) • ด้านความมั่นคง มี 4 ประเภทภัย 1) การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม 2) การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด3) การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 4) การป้องกันและระงับการชุมนุมประท้วงและ ก่อการจลาจล

  27. ระดับความรุนแรงของสาธารณภัยระดับความรุนแรงของสาธารณภัย

  28. สาธารณภัย (Disaster Impact) ระหว่างเกิดภัย การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การตอบโต้และบรรเทาทุกข์ (การจัดการในภาวะฉุกเฉิน) (Response and Relief or Emergency Management) ก่อนเกิดภัย หลังเกิดภัย การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่ (Rehabilitation and Reconstruction) ยุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามวัฎจักรการบริหารจัดการของสาธารณภัย (Disaster Management Cycle)

  29. แผนงานและมาตรการ ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ

  30. เครื่องมืออุปกรณ์กู้ภัย กรม ปภ.

  31. แหล่งที่มาของงบประมาณแหล่งที่มาของงบประมาณ 1. งบประมาณดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 1 และ 2 มีที่มาจาก 3 ส่วน คือ 1) งบประมาณปกติของหน่วยงานส่วนกลาง 2) งบประมาณจังหวัดและงบประมาณของ กลุ่มจังหวัด 3) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  32. 2. งบประมาณดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 3 และ 4 นอกจากใช้งบประมาณจากแหล่งที่มาตาม ข้อ 1 ยังมีแหล่งงบประมาณอีก 2 ส่วน คือ 1) งบประมาณเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน 2) งบกลาง

  33. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  34. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  35. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  36. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  37. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  38. บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  39. ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจ ส่วนสนับสนุน - จว.ใกล้เคียง - มูลนิธิและองค์กรเอกชน - ศูนย์ ปภ.เขต 1-18 - หน่วยงานอื่น คณะที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายแจ้งเตือนภัย ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสาร ฝ่ายรับบริจาค ฝ่ายรักษา ความสงบเรียบร้อย ฝ่ายฟื้นฟูบูรณะ ฝ่ายอื่นๆ ตามความเหมาะสม โครงสร้างศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจ

  40. การมอบหมายภารกิจระดับจังหวัดการมอบหมายภารกิจระดับจังหวัด

  41. การมอบหมายภารกิจระดับจังหวัดการมอบหมายภารกิจระดับจังหวัด

  42. องค์กรบริหารจัดการและขับเคลื่อนแผนฯ องค์กรบริหารจัดการและขับเคลื่อนแผนฯ 1) กปภ.ช. กำกับดูแลระดับประเทศ 2) กปภ.ช. แต่งตั้ง “คณะอนุกรรมการประสาน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ” เพื่อทำหน้าที่ประสานการ ขับเคลื่อนตามแผน ปภ. ชาติ การขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย

  43. สาระสำคัญของส่วนที่ 2กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัย กำหนดขอบเขตการบริหารจัดการสาธารณภัยแบบบูรณาการของหน่วยปฏิบัติการหลัก หน่วยปฏิบัติการ หน่วยสนับสนุน หน่วยบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูอย่างชัดเจน ทั้งในระดับจังหวัด/กทม. ตามระดับความรุนแรง กำหนดไว้ 14 ประเภทภัย ตามตัวอย่าง ดังนี้

  44. นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4) หน่วยปฏิบัติการ ปภ. หน่วยร่วมปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ จังหวัด หน่วยปฏิบัติการ อบต./ เทศบาล/เมืองพัทยา/อำเภอ (นายก อบต./ นายกเทศมนตรี/ นายกเมืองพัทยา/นายอำเภอ) • หน่วยบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูบูรณะ • อบต./เทศบาล/เมืองพัทยา/ อำเภอ/อบจ. • ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต • - สนง.ปภ.จังหวัด - สนง.สาธารณสุข จว. • - สนง.เกษตร จว. - สนง.ประมง จว. • - ปศุสัตว์ จว. • - สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ จว. • - สนง.ประกันสังคม จว.- สนง.แรงงาน จว. • - เหล่ากาชาด จว. - สนง.พัฒนาสังคมฯ • - มูลนิธิ/องค์กรสาธารณกุศล • ฯลฯ หน่วยสนับสนุน - สภากาชาดไทย รักษาพยาบาล/ช่วยเหลือ เครื่องอุปโภคบริโภค - มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่ - มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่ - องค์การระหว่างประเทศ - องค์กรสาธารณกุศล - อาสาสมัคร ฯลฯ แผนผังการปฏิบัติงานแบบบูรณาการระดับจังหวัด (แยกตามประเภทภัยและระดับความรุนแรง) สั่งการ รายงาน จัดตั้ง ผบ.ปภ.ชาติ (รมว.มท.)หรือ ผอ.กลาง (อ.ปภ.) คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ สมช. ประสานงาน ช่วยเหลือ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับจังหวัด (ความรุนแรงระดับ 2) ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับชาติ (ความรุนแรงระดับ 3) สั่งการ รายงาน ร้องขอ ผอ.จังหวัด (ผวจ.) จัดตั้ง/สั่งการ ช่วยเหลือ/สั่งการ จัดทำ แผน ปภ.จว./ แผนปฏิบัติการเฉพาะกิจฯ จากอุทกภัย และดินถล่ม หน่วยร่วมปฏิบัติการ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดูแลสภาพน้ำและพื้นที่เกษตร ที่ได้รับความเสียหาย - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ดูแลเรื่องสภาพอากาศและ การสื่อสาร การแจ้งเตือน - ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กห. เครื่องจักรกล กำลังพล วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ - กระทรวงสาธารณสุข ดูแลสุขภาพอนามัย ป้องกันโรคระบาด - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ดูแล/ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สนับสนุนอากาศยาน กำลังพล วัสดุอุปกรณ์ - กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ สงเคราะห์/ฟื้นฟูผู้ประสบภัย - กระทรวงแรงงาน ฟื้นฟูอาชีพ - กระทรวงการต่างประเทศ ประสานงาน ขอความช่วยเหลือ กับหน่วยงานต่างประเทศ - กระทรวงคมนาคม ฟื้นฟู/ปรับปรุงเส้นทาง คมนาคมและขนส่ง ฯลฯ - สนง.ชลประทาน จว. ข้อมูลปริมาณน้ำ/จัดสรรน้ำ - สนง.ปภ.จังหวัด บริหารจัดการ - อบจ. สนับสนุนบุคลากร/เครื่องจักรกล - สนง.ประชาสัมพันธ์ จว. ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ข่าวสาร - หน่วยทหารในพื้นที่และศูนย์ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต เครื่องจักร ยานพาหนะ กำลังพล - สนง.สาธารณสุข จว. ดูแลสุขภาพอนามัย - สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ จว. ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม - สนง.ประมง จว. ดูแลสัตว์น้ำ - สนง.ปศุสัตว์ จว. ดูแลปศุสัตว์ - กองบังคับการตำรวจภูธร จว. รักษาความสงบ/จัดการจราจร - ที่ทำการปกครอง จว. สนับสนุน/ประสานอำเภอและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - อปพร. ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ - มูลนิธิ/องค์กรการกุศล ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ ฯลฯ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับท้องถิ่น/อำเภอ (ความรุนแรงระดับ 1) ป้องกัน/เตรียมพร้อม เตรียมการ ก่อนเกิดเหตุ หน่วยร่วมปฏิบัติการ - สนง.อุตุนิยมภาค ข้อมูลพยากรณ์อากาศ - สนง.ชลประทานภาค ข้อมูลปริมาณน้ำ/จัดสรรน้ำ - ศูนย์ ปภ.เขต เครื่องจักรกล/ข้อมูล - หน่วยทหารในพื้นที่ เครื่องจักรกล กำลังพล วัสดุ อุปกรณ์กู้ภัย ยานพาหนะ - หน่วย ตชด.ในพื้นที่ สนับสนุนกำลังพล วัสดุอุปกรณ์กู้ภัย ยานพาหนะ - สนง.ทางหลวงภาค ซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม - สนง.ทางหลวงชนบทภาค ซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม - สนง.ทรัพยากรน้ำภาค สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ ฯลฯ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ขณะเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ ร้องขอ ให้ความช่วยเหลือ หน่วยร่วมปฏิบัติการ - โรงพยาบาล รักษาพยาบาล - สถานีอนามัย รักษาพยาบาล - สถานีตำรวจ รักษาความปลอดภัย /จัดการจราจร - สนง.ประปา น้ำดื่มน้ำใช้ - สนง.ไฟฟ้า ดูแลระบบไฟฟ้า - ศูนย์เทคโนโลยีการเกษตร แจ้งเตือนเกษตรกร /ข้อมูลป้องกันความ- เสียหาย - อปพร. ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ - มูลนิธิ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ ฯลฯ สนับสนุน

  45. สาระสำคัญของส่วนที่ 3 กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมั่นคง • หลักการป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมั่นคง • กำหนดขอบเขตการบริหารจัดการภัยแบบบูรณาการของหน่วยปฏิบัติการหลัก หน่วยปฏิบัติการ หน่วยสนับสนุน หน่วยบรรเทาทุกข์ และฟื้นฟูอย่างชัดเจน ทั้งในระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ตามระดับความรุนแรงของภัย กำหนดไว้ 4 ประเภทภัยด้านความมั่นคง

  46. หน่วยร่วมปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ หน่วยร่วมปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ จังหวัด หน่วยร่วมปฏิบัติการ - ศูนย์ ปภ.เขต เครื่องจักรกล,อพยพ, ยานพาหนะ - หน่วยทหารในพื้นที่ เครื่องจักรกล กำลังพล วัสดุ อุปกรณ์กู้ภัย ยานพาหนะ - ตำรวจภูธรภาค จัดการจราจร,รักษาความสงบ เรียบร้อย - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน แห่งชาติ รักษาพยาบาล - กอ.รมน. ภาค การข่าว,ปฏิบัติการจิตวิทยา - กรมการปกครอง การข่าว,ปฏิบัติการจิตวิทยา หน่วยปฏิบัติการ อบต./ เทศบาล/เมืองพัทยา/อำเภอ (นายก อบต./นายกเทศมนตรี/ นายกเมืองพัทยา/นายอำเภอ) หน่วยบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูบูรณะ - อบต. /เทศบาล/เมืองพัทยา /อำเภอ / อบจ. - สนง.ปภ.จว.- สนง.สาธารณสุข จว. - สนง.ประกันสังคม จว. - สนง.แรงงาน จว. - เหล่ากาชาด จว. - สนง.พัฒนาสังคมฯ - มูลนิธิ/องค์กรสาธารณกุศล ฯลฯ แผนผังการปฏิบัติงานแบบบูรณาการระดับจังหวัด (แยกตามประเภทภัยและระดับความรุนแรง) นายกรัฐมนตรี สั่งการ รายงาน จัดตั้ง ผบ.ปภ.ชาติ (รมว.มท.)หรือ ผอ.กลาง (อ.ปภ.) คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ สมช. ประสานงาน ช่วยเหลือ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับจังหวัด (ความรุนแรงระดับ 2) ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับชาติ (ความรุนแรงระดับ 3) สั่งการ รายงาน ร้องขอ ผอ.จังหวัด (ผวจ.) ช่วยเหลือ/สั่งการ จัดทำ จัดตั้ง/สั่งการ แผน ปภ.จว./ แผนปฏิบัติการป้องกันและระงับ การชุมนุมประท้วงและก่อการจลาจล ร้องขอ - กระทรวงกลาโหม ดูแลรักษาความสงบ - กอ.รมน. ป้องกันและระงับการ ก่อการจลาจลปฏิบัติการจิตวิทยา, การข่าว,แจ้งเตือน - สขช.ปฏิบัติการด้านการข่าว - กระทรวงสาธารณสุข การรักษาพยาบาล - กระทรวงมหาดไทย การข่าว,การอพยพ,อำนวย ความ สะดวกผู้ชุมนุม,วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ -กระทรวงการต่างประเทศ ประสานงานทำความเข้าใจกับ ต่างประเทศ -กระทรวงยุติธรรม อำนวยความยุติธรรม พิสูจน์เอกลักษ์บุคคล -กรมประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ ข่าวสาร ฯลฯ - สนง.ประชาสัมพันธ์ จว. ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ข่าวสาร - หน่วยทหารในพื้นที่ ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย, การข่าว - สนง.สาธารณสุข จว. รักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บ - กองบังคับการตำรวจภูธร จว. รักษาความสงบ/จัดการจราจร, การข่าว -กอ.รมน.จว. การข่าว, ปฏิบัติการจิตวิทยา - ที่ทำการปกครอง จว. การข่าว,ปฏิบัติการจิตวิทยา - อปพร. ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ - มูลนิธิ/องค์กรการกุศล ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ -ศูนย์ ปภ.เขต เครื่องจักรกล,อพยพ,กำลังพล วัสดุอุปกรณ์กู้ภัย,ยานพาหนะ ฯลฯ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับท้องถิ่น/อำเภอ (ความรุนแรงระดับ 1) ป้องกัน/เตรียมพร้อม งานป้องกัน เตรียมการ ก่อนเกิดเหตุ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ขณะเกิดเหตุ สนับสนุน หลังเกิดเหตุ ปฏิบัติการ หน่วยสนับสนุน - สภากาชาดไทย รักษาพยาบาล/ช่วยเหลือ เครื่องอุปโภคบริโภค - มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่ - มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่ - องค์การระหว่างประเทศ - องค์กรสาธารณกุศล - อปพร. ฯลฯ ให้ความช่วยเหลือ หน่วยร่วมปฏิบัติงาน - โรงพยาบาล - รักษาพยาบาล - สถานีอนามัย - รักษาพยาบาล - สถานีตำรวจ - รักษาความปลอดภัย /จัดการจราจร - อาสาสมัคร - ช่วยเหลือ จนท. - มูลนิธิ - ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ ฯลฯ 46

  47. หัวข้อที่ 3บทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่นตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 – 2557

  48. โครงสร้างการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโครงสร้างการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับชาติ นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) รองผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ปลัดกรุงเทพมหานคร) ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย) รองผู้อำนวยการจังหวัด (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ) ผบ.ปภ.ช./รอง ผบ.ปภ.ช./ผอ.กลาง (รมว.มท./ป.มท./อปภ.) ระดับจังหวัด กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล (2,010 แห่ง) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารส่วนตำบล (5,765 แห่ง) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเมืองพัทยา ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกเมืองพัทยา) ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล) ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกเทศมนตรี)

  49. บทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่นตามบทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่นตาม แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 • สนับสนุนงบประมาณเพื่อการป้องกันและบรรเทา • สาธารณภัยในเขตพื้นที่ของตน • แผนฯจังหวัด จะต้องมีแผนและขั้นตอนของ อปท. • ในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และ • ยานพาหนะ • ดำเนินการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  50. บทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่นตามบทบาทของผู้อำนวยการท้องถิ่นตาม แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 • สั่งข้าราชการ พนักงานท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน อาสาสมัคร บุคคลใดๆ • ใช้อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะของรัฐและเอกชนในพื้นที่เท่าที่จำเป็น • ใช้เครื่องมือสื่อสารทุกระบบ • ขอความช่วยเหลือ อปท. อื่น • สั่งห้ามเข้าออกพื้นที่ อาคาร/สถานที่ • จัดให้มีการสงเคราะห์ผู้ประสบภัยโดยทั่วถึงและรวดเร็ว

More Related