1 / 16

ประเด็นรับฟังความคิดเห็น

ประเด็นรับฟังความคิดเห็น. ประเด็นที่ 1 การจัดตำแหน่ง “เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป” เข้าประเภท สายงาน และระดับตำแหน่งใหม่. ลักษณะงานของตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (ปัจจุบัน). 4. 6,6 ว. 7,7 ว. 8,8 ว. 8 บก. 9 บส. 3. 5. ผอ.สำนักบริหารกลาง ผอ.กองกลาง/เลขาฯ กรม.

Télécharger la présentation

ประเด็นรับฟังความคิดเห็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นรับฟังความคิดเห็นประเด็นรับฟังความคิดเห็น ประเด็นที่ 1 การจัดตำแหน่ง “เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป” เข้าประเภท สายงาน และระดับตำแหน่งใหม่

  2. ลักษณะงานของตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (ปัจจุบัน) 4 6,6 ว 7,7 ว 8,8 ว 8 บก. 9 บส. 3 5 • ผอ.สำนักบริหารกลาง • ผอ.กองกลาง/เลขาฯ กรม • หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด • หนฝ. บท. ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ • หัวหน้างานบริหารทั่วไป ภายใต้กอง/สำนัก/จังหวัด ปฏิบัติงานวิชาการในกลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด เช่น • งานศึกษา วิเคราะห์ • งานเลขานุการผู้บริหาร • งานประสานและจัดทำแผนงาน แผนเงิน แผนคน (ระดับสำนัก) • บริหารการประชุม • งานบริหารทั่วไปในกอง/สำนัก/จังหวัด เช่น • งานธุรการ • งานสารบรรณ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุ

  3. การเข้าสู่ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปการเข้าสู่ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 4 7,7 ว 8,8 ว 8 บก. 9 บส. 3 5 6, 6ว ข้อเท็จจริง • เปิดระดับ 6 ให้ผู้มีวุฒิต่ำกว่า ป. ตรีสามารถสอบเลื่อนเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งได้ เฉพาะตำแหน่งที่ไม่กำหนดเป็น ว. • เป็นสายงานที่เริ่มจากระดับ 3 บรรจุจากผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

  4. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป • สายงานเริ่มต้นจากระดับ 3 และเปิดระดับ 6 ให้ผู้มีวุฒิต่ำกว่า ป. ตรีสามารถสอบเลื่อนเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งได้ • เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป • สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 มีวุฒิ/ไม่มีวุฒิ ป. ตรี • เจ้าพนักงานปกครอง (ปลัดอำเภอ) • นายตรวจศุลกากร • นักวิชาการที่ดิน • สมุห์บัญชีอำเภอ • เจ้าหน้าที่ตรวจสรรพสามิต • บุคลากร (ตรวจสอบ)

  5. จำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการจำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการ 2,852 2,607 1,743 155 117 46 35 9 8 21 21 3-5/6 6ว. 7ว./8ว. 8บก. 9บส. 7 6 6ว./7ว. 7ว. 8 8ว. ยอดรวม 7,614 อัตรา (ข้อมูล ปีงบประมาณ 2550)

  6. จำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการจำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการ

  7. จำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการจำนวนตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในส่วนราชการ

  8. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (อนาคต)ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไป วิชาการ อำนวยการสูง แนวทาง • ลักษณะงานของตำแหน่งเป็นตำแหน่งวิชาการ • ตำแหน่งบริหารตามโครงสร้างส่วนราชการเป็นประเภทอำนวยการ • กำหนดชื่อสายงานใหม่ เป็น “นักจัดการงานทั่วไป • ผอ.สำนักบริหารกลาง • ผอ.กองกลาง/เลขาฯ กรม อำนวยการต้น • หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด • หนฝ. บท. ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ • หัวหน้างานบริหารทั่วไปภายใต้กอง/สำนัก ปฏิบัติงานวิชาการในกลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด เช่น • งานศึกษา วิเคราะห์ • งานเลขานุการผู้บริหาร • งานประสานและจัดทำแผนงาน แผนเงิน แผนคน (ระดับสำนัก) • บริหารการประชุม ชำนาญการพิเศษ • งานบริหารทั่วไปในสำนัก/กอง เช่น • งานธุรการ • งานสารบรรณ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุ ชำนาญการ ปฏิบัติการ

  9. ข้อเสนอจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปข้อเสนอจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป • พิจารณาตามลักษณะงาน (nature of work) • กรณีที่ลักษณะงานเป็นประเภทวิชาการ แต่ผู้ครองตำแหน่งยังไม่มีคุณสมบัติ (วุฒิการศึกษา) ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง เสนอให้จัดตำแหน่งนั้นเป็น “ตำแหน่งประเภททั่วไป” (เจ้าพนักงานธุรการ)ก่อน โดยกำหนดเวลาให้ผู้ที่ครองตำแหน่งนั้นไปศึกษาเพื่อให้ได้วุฒิการศึกษาตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (นักจัดการงานทั่วไป) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็น “ตำแหน่งประเภทวิชาการ” (นักจัดการงานทั่วไป) ได้ในภายหลัง

  10. ข้อเสนอการจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปข้อเสนอการจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป • ผอ.สำนักบริหารกลาง • ผอ.กองกลาง/เลขาฯ กรม ประเภทอำนวยการ • หนฝ. บท. ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ • หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด ปฏิบัติงานวิชาการในกลุ่มงาน/ฝ่ายในกอง/สำนัก/จังหวัด เช่น • งานศึกษา วิเคราะห์ • งานเลขานุการผู้บริหาร • งานประสานและจัดทำแผนงาน แผนเงิน แผนคน (ระดับสำนัก) • บริหารการประชุม ประเภทวิชาการ • หัวหน้างานบริหารทั่วไป ภายใต้กอง/สำนัก/จังหวัด ประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ • งานบริหารทั่วไปในกอง/สำนัก/จังหวัด เช่น • งานธุรการ/งานสารบรรณ/งานการเงินและบัญชี/ งานพัสดุ

  11. ประเด็นรับฟังความคิดเห็นประเด็นรับฟังความคิดเห็น ประเด็นที่ 2 การจัดตำแหน่ง “เจ้าหน้าที่บริหารงาน...” เข้าประเภท สายงาน และระดับตำแหน่งใหม่

  12. ลักษณะงานของตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหาร… (ปัจจุบัน) 4 6 7 8 8 บก. 9 บส. 5 • ผอ.สำนัก • ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย/งาน • งานภารกิจหลัก เทคนิคเฉพาะด้าน ทักษะและความชำนาญเฉพาะตัวในสำนัก/กอง เช่น • จบห.งานช่าง • จบห.งานตรวจสอบบัญชี • งานวิชาการในภารกิจของกอง/สำนัก/กรมในภูมิภาค เช่น • จบห.ประชาสัมพันธ์ • จบห.ที่ดิน • งานสนับสนุนในภารกิจของกอง/สำนัก/กรมในภูมิภาคเช่น • จบห.พัสดุ • จบห.การเงินและบัญชี • จบห.ธุรการ

  13. การเข้าสู่ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงาน…การเข้าสู่ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงาน… 4 7,7 ว 8,8 ว 8 บก. 9 บส. 3 5 6, 6ว ข้อเท็จจริง ผู้มีวุฒิ/ไม่มีวุฒิปริญญา สามารถสอบเลื่อนเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งได้

  14. ตำแหน่งที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงาน ก.พ. กับส่วนราชการ ซึ่งเป็นตำแหน่ง ที่มีลักษณะเป็นสายงานร่วม (combined series) เจ้าหน้าที่บริหารงานทรัพยากรธรณี เจ้าหน้าที่บริหารงานพิธีการศุลกากร เจ้าหน้าที่บริหารงานข่าว เจ้าหน้าที่บริหารงานโสตทัศนศึกษา เจ้าหน้าที่บริหารงานป่าไม้ เจ้าหน้าที่บริหารงานอุทกวิทยา เจ้าหน้าที่บริหารงานออกแบบก่อสร้าง เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง เจ้าหน้าที่บริหารงานโบราณคดี สารวัตรศุลกากร เจ้าหน้าที่บริหารงานยุติธรรม เจ้าหน้าที่บริหารงานกษาปณ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานศิลปิน เจ้าหน้าที่บริหารงานผังเมือง เจ้าหน้าที่บริหารงานประเมินราคาทรัพย์สิน เจ้าหน้าที่บริหารงานประกันสังคม เจ้าหน้าที่บริหารงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เจ้าหน้าที่บริหารงานสถิติ เจ้าหน้าที่บริหารงานราชทัณฑ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานการคลัง เจ้าหน้าที่บริหารงานตรวจสอบบัญชี เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพสามิต เจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากร เจ้าหน้าที่บริหารงานส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานชั่งตวงวัด เจ้าหน้าที่บริหารงานประกันภัย เจ้าหน้าที่บริหารงานขนส่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานสื่อสาร เจ้าหน้าที่บริหารงานประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานเผยแพร่ เจ้าหน้าที่บริหารงานการเกษตร เจ้าหน้าที่บริหารงานประมง เจ้าหน้าที่บริหารงานสัตวบาล เจ้าหน้าที่บริหารงานปศุสัตว์ เจ้าหน้าที่บริหารงานอุตุนิยมวิทยา เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข เจ้าหน้าที่บริหารงานอบรมและฝึกวิชาชีพ เจ้าหน้าที่บริหารงานฝึกอาชีพ เจ้าหน้าที่บริหารงานวัฒนธรรม เจ้าหน้าที่บริหารงานการศาสนา เจ้าหน้าที่บริหารงานแรงงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานพัฒนาชุมชน เจ้าหน้าที่บริหารงานพัฒนาชนบท เจ้าหน้าที่บริหารงานที่ดิน เจ้าหน้าที่บริหารงานปกครอง เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี เจ้าหน้าที่บริหารงานราชพัสดุ เจ้าหน้าที่บริหารงานพาณิชย์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนการค้า เจ้าหน้าที่บริหารงานมาตรฐานสินค้า เจ้าหน้าที่บริหารงานการอุตสาหกรรม

  15. ลักษณะงานของสายงานเจ้าหน้าที่บริหารงาน....ลักษณะงานของสายงานเจ้าหน้าที่บริหารงาน.... (ยกเว้นตำแหน่งระดับ 8 บก. และ 9 บส.) จบห.ธุรการ.........จบห.พัสดุ..........จบห.ช่าง........... จบห.การอุตสาหกรรม.... ลักษณะงานวิชาการ ใช้ความรู้ระดับวุฒิปริญญาในการปฏิบัติงาน และมีผลผลิตของงานในเชิงวิชาการ ลักษณะงานสนับสนุน เน้นการปฏิบัติการ

  16. ข้อเสนอจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงาน...ข้อเสนอจัดตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงาน... • พิจารณาตามลักษณะงาน (nature of work) • กรณีที่ลักษณะงานเป็นประเภทวิชาการ แต่ผู้ครองตำแหน่งยังไม่มีคุณสมบัติ (วุฒิการศึกษา) ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง เสนอให้จัดตำแหน่งนั้นเป็น “ตำแหน่งประเภททั่วไป” (เจ้าพนักงานที่ดิน)ก่อน โดยกำหนดเวลาให้ผู้ที่ครองตำแหน่งนั้นไปศึกษาเพื่อให้ได้วุฒิการศึกษาตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (นักวิชาการที่ดิน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็น “ตำแหน่งประเภทวิชาการ” (นักวิชาการที่ดิน) ได้ในภายหลัง

More Related