1 / 33

Department and Faculty Management: From Theory to Practices

Department and Faculty Management: From Theory to Practices. รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ / คุณอินทิรา ศรีคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มกราคม 2546. หัวข้อ ( TOPICS):. บทนำ - Introduction สองด้านของการบริหารจัดการ - Two A spects of Management

cleave
Télécharger la présentation

Department and Faculty Management: From Theory to Practices

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Department and Faculty Management: From Theory to Practices รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ / คุณอินทิรา ศรีคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มกราคม 2546

  2. หัวข้อ (TOPICS): • บทนำ - Introduction • สองด้านของการบริหารจัดการ -Two Aspects of Management • วางแผนนำสู่ความสำเร็จ - Planning for Success • พัฒนาคณะคู่กับบุคลากร - Faculty and Staff Development • สิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติ - Practicing the Good Practice • อบรมครูแบบครูทำPedagogy - Based Training for Educators • กรณีตัวอย่าง - Two Cases of Good Management: Faculty & Department Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  3. ทำไมถึงต้องบริหารจัดการให้ดียิ่งขึ้นทำไมถึงต้องบริหารจัดการให้ดียิ่งขึ้น • สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษามีเป็นจุดเด่น และเป็นความหวังของผู้คน • ผู้คนจำนวนมากมุ่งการศึกษาต่อโดยเฉพาะผู้คนที่ได้ก้าวสู่โลกอาชีพ • สถาบันอุดมศึกษาคือกลุ่มคนที่มี ความพร้อมด้านเนื้อหา องค์ความรู้ และ เครื่องมือ สื่อ อุปกรณ์ นานาชนิด สามารถจัดการเรียนรู้ แบบตลอดชีวิตให้ แก่ผู้คนได้ • ความท้าทายอันเกิดจากระบบเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ ๆ • การคิดทบทวน วางแผน เพื่อให้ได้ ระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีศูนย์รวมเครือข่ายเพื่อการแก้ไขปัญหาต่างๆ จัดการธุรกิจ และ บริหารลำดับงานที่ดี ย่อมทำให้หน่วยงาน/สถาบันของเราพร้อม สำหรับสิ่งเหล่านี้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  4. คณะ และ ภาควิชา: สองด้านของการจัดการFaculty MIS & Department MISSystem and Content

  5. จากมหาวิทยาลัย สู่คณะ จากคณะสู่ภาควิชา และสาขา • MIS: Management of Information Systemหรือระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสำหรับองค์กรทางการศึกษานั้น ความจริงประกอบด้วยสารสนเทศ 2 ลักษณะ คือ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และ สารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน • การก้าวเข้าสู่ความเป็น E - University ในปัจจุบัน นำไปสู่การจัดทำ E- Course ทำให้เกิดความต้องการจำเป็นในการพัฒนาระบบทั้งสองควบคู่กันไป โดยส่วนใหญ่มักแยกจากกัน โดยใช้เครื่องมือบริหารคนละตัว และอาจจะพัฒนาคู่กันไป แต่ สามารถมารวมกัน หรือ เชื่อมกันได้ ในที่สุด อย่างเช่น กรณีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  6. ระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่ความเป็น E-University หรือ Virtual University, etc. • ทั้งนี้จุดเน้นของการจัดการศึกษาผ่านเครือข่ายสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ต อยู่ที่การทบทวน จัดการกระบวนการทางการให้การศึกษาใหม่ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ เนื้อหารูปแบบการเรียนการสอนเทคโนโลยีที่ใช้ ไปจนถึงอุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือ ซึ่งทั้งหมดต้องทำงานร่วมกัน อย่างสอดประสาน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  7. การวางแผนนำสู่ความสำเร็จPlanning for Success

  8. การวางแผนทั้งเชิงกลยุทธ์ และ การเงิน • แผนควรสั้น อ่านง่าย และแจกจ่ายได้โดยทั่วถึง โดย • เริ่มในระดับหน่วยงานที่มี ให้มีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สอดรับกับแผนและเป้าหมายทางไอที • สนับสนุนจัดหาแหล่งทุน ดำเนินการในเรื่องต่างๆ เช่น อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ เครือข่าย และบริการเสริมทั้งหมด • มีจุดเน้นด้านกำหนดเวลา และกลยุทธ์ที่ปรับใช้ข้ามสถาบัน /หลักสูตรได้ • ทำแผนนำร่องขนาดเล็ก เพื่อได้ต้นแบบ และซอฟท์แวร์ที่จะนำ ไปใช้ต่อไปทั้งหมด • มีการนำไปใช้และติดตามประเมินเทคโนโลยีและวิธีการทุกครั้ง Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  9. การวางแผนทั้งเชิงกลยุทธ์ และ การเงิน ให้มีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์ มีจุดเน้นด้านกำหนดเวลา และกลยุทธ์ สนับสนุนจัดหาแหล่งทุน ทำแผนนำร่องขนาดเล็ก มีการนำไปใช้และติดตามประเมิน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  10. คณะและบุคลากร: การเข้าใจองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง • วางแผน • วิสัยทัศน์ • ดำเนินการ/จัดการ • กลุ่มคน • อุปสรรค • ประเมินผล • การประเมินในตอนท้าย Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  11. วิสัยทัศน์ • การพัฒนาคณะ และ คน คือ บุคลากร เป็นการเปลี่ยนแปลงหลายระดับชั้น การกำหนดวิสัยทัศน์ จะทำให้เข้าใจว่าทำไมจึงต้องทำ และ เข้าใจในสิ่งที่เทคโนโลยีสามารถทำให้ได้ อีกด้วย • คณะมุ่งมองที่กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ดียิ่งขึ้น ตลอดถึง การจัดทำงานวิจัย ต่างๆ • บุคลากรมี หน้าที่ บทบาทต่างๆ กัน ต้องชี้ให้มองเห็นในด้านของ การเพิ่มพูนผลผลิต และ/หรือ ประสิทธิภาพในส่วนงานของแต่ละคน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  12. กลุ่มคน / กลุ่มเป้าหมาย • Rogers 1983 แบ่งกลุ่มคนที่สนองตอบต่อเทคโนโลยีไว้ 5 ประเภท คือ Innovators - Early Adopters - Early Majority - Late Majority และ Laggards • การตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคนไว้ที่ 2 ประเภทแรก คือ Innovatorsและ Early Adopters จะช่วยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  13. อุปสรรค • Kotter 1986 กล่าวถึงอุปสรรค 4 ประการ คือ • การขาดทักษะและความรู้ ที่นำไปสู่ความไม่เข้าใจวิธีปฏิบัติ • โครงสร้างของหน่วยงานเอง ที่อาจจะยังขาดอะไรบางอย่าง • ระบบข้อมูลที่ไม่ต้องการเปลี่ยน และบุคคลที่ไม่เข้าใจในสิ่งที่ทำกันอยู่ • การคิดทำ หรือ การปฏิบัติ ที่ถูกบล้อคไว้ หรือ ไม่ให้การสนับสนุน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  14. อุปสรรค • Grant 1996 จึงเน้นในสิ่งที่ คณะ และ บุคลากร ต้องการ คือ • วิสัยทัศน์ ที่ทำให้เข้าใจว่า เทคโนโลยี ทำอะไรได้บ้าง • เวลาและแหล่งความรู้ ที่พอเพียง ซอฟท์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ • ความรู้ และข้อมูลที่จำเป็น ต่อการจัดระบบ ดำเนินการและ บริหารข้อมูล ในบริบท ไฮเทคโนโลยี • การฝึกอบรม การนำเทคโนโลยี ไปสอนและควบคุมการเรียนรู้ ของผู้เรียน รวมทั้ง การอบรมด้านการบริหารจัดการองค์กร Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  15. การประเมินในตอนท้าย • เป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง ต่อการตรวจสอบเส้นทาง ดำเนินการ แก้ไขสิ่งบกพร่องจนถึงทำใหม่ในจุดต่างๆ สามารถ ประเมินได้หลายวิธี ด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น • แบบสอบถาม • แบบสังเกต • การสอบในรายวิชา ระหว่างเทอม แวนำมาปรับแก้ • สื่อเพื่อช่วยปรับ เพิ่มประสิทธิภาพ และปฏิสัมพันธ์ ตอบโต้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  16. สิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติสิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติ เรียนอย่างมีส่วนร่วม ส่งเสริมการติดต่อ มีการร่วมมือ ตอบสนองกันและกัน เคารพในความแตกต่าง และหลากหลาย

  17. Encourages Contact Between Student and Faculty. • การติดต่อกันระหว่าง ผู้เรียนกับคณะ ทั้งในและนอกห้องเรียน เป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นและก่อให้เกิด การมีส่วนร่วมของผู้เรียน • อบรม และ สร้างสถานการณ์ ให้เกิดการใช้งานจริง ระหว่าง คณะอาจารย์ ก่อนที่ เขาจะไปฝึกสร้าง ให้กับผู้เรียน • อาจเพิ่มช่องทาง การติดต่อสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ และ อีเมล์ อีกด้วย Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  18. Good Practices Uses Active Learning Techniques • เช่น ให้ฝึกปฏิบัติ พัฒนาคอร์สจริง โดยอาจเริ่มจาก Templates ไปพร้อมกันก่อนในการทำหน่วยแรกของคอร์ส • ฝึกใช้เครื่องมือสื่อสาร บนอินเทอร์เน็ต หลายๆ อย่าง • ให้ออกแบบคอร์สด้วยตนเอง แต่เน้นในเรื่อง การรวบรวมผู้คน และ การคำนึงถึงรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย รวมทั้ง • วางจุดประสงค์คอร์ส • วางรูปแบบการประเมินผล • หัดใช้เครื่องมือ สื่อมัลติมีเดีย บทความหลายมิติ ที่เชื่อมโยงWWW ตลอดจนรูปแบบการอภิปรายแบบต่างเวลา สถานที่Asynchronous Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  19. Develops Reciprocity and Cooperation among Students. • การร่วมมือกัน และตอบสนองกันและกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน แลระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน • การแบ่งปันความคิดกันและกัน และ ตอบโต้ความคิดผู้อื่น จะช่วยให้เข้าใจ ได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เกิดการพัฒนาทักษะการคิด • เกิดการเรียนรู้ รูปแบบการสอน และการเรียน แบบออนไลน์มากยิ่งขึ้น Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  20. Good Practices Respects Diverse Talents and Ways of Learning • การให้โอกาสผู้เรียน แสดงออกในสิ่งที่เขาทำได้ และเรียนในแบบที่ต้องการ • เสริมสื่อหลากหลายรูปแบบแก่คณาจารย์ทั้งแบบออนไลน์ อิเล็กทรอนิกส์ และ แบบสิ่งพิมพ์ • ผลพบว่า สื่อ สิ่งพิมพ์ เป็นที่นิยมมากที่สุด เพราะเป็นการเริ่มจาก สิ่งที่ เราคุ้นเคย นั่นเอง Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  21. สรุป • คือ เน้นการปฏิบัติ ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ด้วยการป้อนประสบการณ์ตรง แก่ผู้สอน ที่ได้แก่ • การสื่อสารทั้งแบบ Synchronous และ Asynchronous • การบริหารงานและเวลา • การสอนแบบร่วมมือและช่วยกันทำงาน แบบจับคู่ หรือ เป็นกลุ่ม • การใช้ประโยชน์ จากสื่อมัลติมีเดีย • และ การประเมินติดตามผลแบบออนไลน์ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  22. กรณีตัวอย่าง: Department Showcase • การจัดหา Infrastructures • การฝึกอบรม Training • การจัดทำคอร์ส Course Provisions • WBT / WBL • WebCT : Classroom Support • Communication Tools Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  23. จัดเตรียม Infrastructure และ จัดทำWebsite ภาควิชา Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  24. จัดทำ TEMPLATE WEB Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  25. อบรม การทำ WEBPAGE Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  26. อบรม Classroom Support Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  27. อบรม Communication Tools E-MAIL FORUM / WEBBOARD Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  28. อบรมครูแบบครูทำPedagogy-Based Training for Educators

  29. การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • วางแผนให้ทำงานในหน้าที่ ที่เป็นเป้าหมายของคณะ/สถาบัน คือ • การดูแลการเรียน และผลสำเร็จของผู้เรียน • ดังนั้นสิ่งที่เน้นให้ครูศึกษาก็คือ การสอนโดยใช้เทคโนโลยีการศึกษาต่าง ๆ ให้เป็น Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  30. การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • มีจุดเน้นที่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญานในงานของตน เพราะความสำเร็จของผู้เรียนขึ้นอยู่กับสิ่งนี้ อย่างมาก • ครูต้องเลือก คัดสรร ผสมผสาน และใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  31. การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • เทคนิคการทำเป็นทีมเป็นวิธีที่ส่งผล ให้เกิดผลผลิตที่มี ประสิทธิภาพ ทันเวลา และ คุ้มค่ากับการลงทุน • รูปแบบฝึกอบรมที่ทำทั้งแบบเสมือนจริงคืออยู่ห่างกัน และ แบบเผชิญ หน้า นำไปสู่แนวทางการสอนแบบเน้นผู้เรียน ให้ครูเลียนแบบได้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  32. References • Using Best Practices,Workflow, and Object Technologies to Improve Higher Education Management. available at http://ts.mivu.org • Practicing the Good Practice in Faculty Development. available at http://ts.mivu.org • Developping a Successful Information Technology Competency Strategy for Faculty and Staff. available at http://ts.mivu.org • Making Change Happen: Planning For Success. available at http://ts.mivu.org • http://search.ngfl.gov.uk/majordomo-html/ict-management/ict-management.archive.0012/msg00012.html Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

  33. กรณีตัวอย่าง: Faculty Showcase • Planning • Development • Implementation • Evaluation Dr.Maturos CHONGCHAIKIT

More Related