1 / 30

กรดไขมันจำเป็น ( EFA )

กรดไขมันจำเป็น ( EFA ). เคยได้ยินไหมว่า ? ....ห้ามเด็กที่กำลังเจริญเติบโตกินเจ ....ห้ามใช้นมถั่วเหลืองเลี้ยงเก็กทารก ....ห้ามใช้นมข้นหวานเลี้ยงทารก เพราะอะไรจึงห้าม ? ....อ๋อ เพราะขาดสารอาหาร จป. สารอาหารจำเป็น จำเป็น เพราะเราผลิตเองไม่ได้ ต้องกินจากภายนอก

clinton
Télécharger la présentation

กรดไขมันจำเป็น ( EFA )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรดไขมันจำเป็น (EFA)

  2. เคยได้ยินไหมว่า ? ....ห้ามเด็กที่กำลังเจริญเติบโตกินเจ ....ห้ามใช้นมถั่วเหลืองเลี้ยงเก็กทารก ....ห้ามใช้นมข้นหวานเลี้ยงทารก เพราะอะไรจึงห้าม ? ....อ๋อ เพราะขาดสารอาหาร จป.

  3. สารอาหารจำเป็น จำเป็นเพราะเราผลิตเองไม่ได้ ต้องกินจากภายนอก กรดอะมิโนจำเป็น ....โครงสร้างขนาดเล็กที่สุดที่ เมื่อกินเข้าไปแล้วไปต่อกันเป็นสารโปรตีน เช่น โปรตีนเนื้อสัตว์มีกรดอะมิโนจำเป็นครบ แต่ถั่วมีอะมิโนจำเป็นไม่ครบ เด็ก/ผู้ใหญ่ไม่กินเนื้อสัตว์จะขาด กรดอะมิโน จำเป็นจะเกิดอะไร ?

  4. วิตามินจำเป็น....สารอาหารจำเป็นต่อร่างวิตามินจำเป็น....สารอาหารจำเป็นต่อร่าง กายต้องกิน เพราะผลิตเองไม่ได้ ผู้สูงอายุขาดวิตามินเพราะอะไร ? ปริมาณอาหาร ? คุณภาพอาหาร ? การย่อยอาหาร ? การดูดซึมอาหาร ? การเอาไปใช้งานของอาหาร ?

  5. ทดลองคิดกัน วิตามินซี ร่างกายสร้างเองได้หรือไม่ได้ ? วิตามินบี ร่างกายสร้างได้เองหรือไม่ ? วิตามินรวม(A D E K) ร่างกายสร้างได้เองหรือไม่ ? วิตามินอะไรที่ละลายอยู่ในน้ำมัน ? คนที่ไม่กินน้ำมันเลย จะขาดวิตามินรวมหรือไม่ ? คนที่กินกากอาหารมาก จะขาดวิตามินหรือไม่ ?

  6. กรดไขมันจำเป็นคืออะไร ? ก่อนอื่นต้องรู้เรื่องไขมัน ร่างกายต้องการไขมันใช่หรือไม่ ? เพื่ออะไร ? เพื่อสร้างฮอร์โมนเพศ ....อีสโตรเจน ถ้าขาดเกิดอะไร ? ....เทสโทสเตอโรน - ....โพรสต้าแกลนดิน - ....สตีรอยด์ -เป็นต้น

  7. เพื่ออะไร(ต่อ) เพื่อสร้างซ่อมเยื่อหุ้มเซ็ลของทุกเซ็ลในร่างกาย เช่น ตับ ปอด หัวใจ เซ็ลภูมิต้านทาน! - ตับสร้างเอง ๘๐ % เพื่อสร้างวิตามินจากไขมัน เพื่อเป็นฉนวนไฟฟ้าของเซ็ลสมอง ประสาท กล้ามเนื้อ. ถ้าไฟฟ้ารั่ว จะเกิดอะไรขึ้น ? เพื่อบุอวัยวะต่าง ๆ เพื่อลดแรงกระแทก....

  8. ไขมันเมื่อแตกตัวออกมาเป็นหน่วยย่อย คือ กรดไขมัน กรดไขมันมี ๒ กลุ่มใหญ่ๆ ๑. กรดไขมันอิ่มตัว คือ กรดไขมันที่มีโครงสร้างคาร์ บอนด์อะตอมจับกันเป็นแขนเดียว ไม่สามารถเติม สารประกอบหรือธาตุใดลงไปได้อีก ๒. กรดไขมันไม่อิ่มตัว คือ กรดไขมันที่มีโครงสร้าง คาร์บอนด์อะตอมจับกันเป็นแขนคู่ ซึ่งตำแหน่งดัง กล่าวอาจเติมสารประกอบหรือธาตุใดลงไปได้อีก

  9. กรดไขมันมี ๒ กลุ่มใหญ่ๆ ๑. กรดไขมันอิ่มตัวคือ กรดไขมันที่มีโครงสร้างคาร์ บอนด์อะตอมจับกันเป็นแขนเดียว ไม่สามารถเติม สารประกอบหรือธาตุใดลงไปได้อีก พบในไขมันสัตว์ เช่น น้ำมันหมู เนย นม มีลักษณะ พิเศษ คือ แข็งตัวเมื่ออุณหภูมิเย็นลง เหมาะสำหรับทอดหรือ ? แต่มีอันตรายหรือไม่ ?

  10. ๒. กรดไขมันไม่อิ่มตัวคือ กรดไขมันที่มีโครงสร้าง คาร์บอนด์อะตอมจับกันเป็นแขนคู่ ซึ่งตำแหน่งดัง กล่าวอาจเติมสารประกอบหรือธาตุใดลงไปได้อีก พบในไขมันสัตว์ เช่น น้ำมันหมู เนย นม มีลักษณะ พิเศษ คือ แข็งตัวเมื่ออุณหภูมิเย็นลง เหมาะสำหรับทอดหรือ ? แต่มีอันตรายหรือไม่ ?

  11. ๒. กรดไขมันไม่อิ่มตัวแบ่งออกเป็นหลายแบบ เช่น แบบจุดเดียว และแบบหลายจุด ขึ้น อยู่กับจำนวนของตำแหน่งที่ว่าง หรือตำแหน่ง ของแขนคู่ว่ามีกี่ตำแหน่ง (หิว*) พบในไขมันสัตว์ เช่น น้ำมันหมู เนย นม มีลักษณะ พิเศษ คือ แข็งตัวเมื่ออุณหภูมิเย็นลง เหมาะสำหรับทอดหรือ ? แต่มีอันตรายหรือไม่ ?

  12. กรดไขมันจำเป็นคือกรดไขมันแบบไหน(อิ่มหรือไม่อิ่ม)?กรดไขมันจำเป็นคือกรดไขมันแบบไหน(อิ่มหรือไม่อิ่ม)? ตอบ....กรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไม่อิ่มตัว ๑ จุดนั้น ร่างกายสร้างได้เอง โดยสร้างจาก แป้ง น้ำตาล โปรตีน.... สำหรับกรดไขมันจำเป็นนั้น ร่างกายสร้างไม่ได้ ต้องกิน เข้าไป มี ๒ กลุ่ม ๑. กลุ่มโอเมก้า ๓ ๒. กลุ่มโอเมก้า ๖ (หิว*)

  13. น้ำมันปลามีโอเมก้า ๓ มีสูตรอย่างไร ? มีแขนคู่อยู่ตัวที่ ๓ นับจากปลาย

  14. กรดไขมันโอเมก้า๓ มี ๒ ตัวที่เป็นไขมันจำเป็น คือ ๑. EPA(กรดอีโคซาเพนตาอีโนอิค) ๒. DHA(กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค) โอเมก้า ๓ มีมากในปลา โอเมก้า ๓ ถูกเปลี่ยนเป็นไขมันรูอื่นในร่างกาย เช่น เปลี่ยนเป็น โพรสต้าแกลนดิน (PG)

  15. กรดไขมันโอเมก้า ๓ สำคัญมากเพราะอะไร ? เปลี่ยนเป็นโพรสต้าแกลนดิน(๑,๓)ชนิดส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและบรรเทาอักเสบที่....+ข้อ (การเกิด การหาย) ป้องกันบวมน้ำ....ป้องเลือดจับแข็งตัว.... ลดไขมันในเลือด(ลดคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์) ป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด.... อัมพาต....ความดัน.... คุมน้ำตาลไม่ให้เป็นเบาหวาน....เสริมภูมิต้านทาน ของร่างกาย....ไม่เป็นหมัน เวลากินโต้ะจีน ?

  16. อนุมูลอิสระกับหลอดเลือดอนุมูลอิสระกับหลอดเลือด สมัยก่อน เชื่อว่า ไขมันส่วนเกินจะไปเกาะที่ผนัง ของหลอดเลือด. ปัจจุบัน เชื่อว่า อนุมูลอิสระเข้าไปแย่งอิเล็ก ตรอนที่ผนังเซลต่าง ๆ. เซลบุหลอดเลือดถูกทำลาย ผนังหลอดเลือดขรุขระ ไขมันเลือดไปเกาะ พอกตัว > หลอดเลือดแดงจึงตีบลง

  17. อนุมูลอิสระ น้ำมันปลากับมะเร็ง อนุมูลอิสระทำให้เกิดมะเร็ง ? น้ำมันปลาหรือกรดไขมันจำเป็นจะปรับสมดุลของ โพรสต้าแกลนดิน การทำงานของเม็ดเลือดขาวดีขึ้น ทำลายเซลมะเร็งได้มากขึ้น(ป้องกัน/ชะลอ/รักษามะเร็งได้)

  18. อนุมูลอิสระกับ LDL อนุมูลอิสระไปจับ LDLจึงทำลายโครงสร้างของ LDL ผลคือ ตับไม่สามารถทำลาย LDL จึงทำให้ LDL สูง. LDL ที่มีโครงสร้างผิดจะถูกเม็ดเลือดขาวกิน กลาย เป็น foam cell เป็นตระกรันเกาะที่หลอดเลือด. การกินอาหารที่มีอนุมูลอิสระ จึงเป็นอันตรายต่อเซล ? อนุมูลอิสระมีอยู่ในอาหารอะไรบ้าง ? เราจะป้องกันอย่างไร ?

  19. น้ำมันปลาได้จากอาหารปลาน้ำมันปลาได้จากอาหารปลา วันหนึ่งต้องการน้ำมันปลา ๒ กรัม ที่จะป้องกัน และแก้ปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว. ต้องกินปลาที่มีโอเมก้า๓สูง ได้แก่ปลาที่คาวจัด เช่น ปลาทะเล - ปลาทู ซาบะ ปลาน้ำจืด – ปลาช่อน ปลาสวาย ตำแหน่งที่มีน้ำมันปลามากคือ พุงปลา หนังปลา และหัวปลา

  20. ทำให้สุกแบบไหนดีที่สุด ? ปลาดิบ / สุก อย่างไหนดี ? นึ่ง ต้ม ย่าง/ปิ้ง ผัด ทอด อย่างไหนดี ? เพราะอะไร ? ผัดสุกแค่ไหนดี ? เพราะเหตุไร ? ทอดแค่ไหนดี เพราะเหตุไร ? แบบไหนอันตรายที่สุด ? อันตรายเกิดจากอะไรบ้าง ? ปล. ย่างควรเก็บน้ำมันที่หยดมากิน แล้วทอดล่ะ ......?

  21. ช่วยกันคิด ปลามีไขมันอิ่มตัว และคอเลสเตอรอล ใช่หรือไม่ ? เพราะอะไร ? ปลาทุกชนิดมีกรดไขมันอิ่มตัว ๓๐ – ๔๐ % ของไขมัน ปลาทั้งหมด. ดังนั้น ไขมันปลาทั้งหมด จึงไม่ใช่กรด ไขมันโอเมก้า ๓ ล้วน ๆ ใช่หรือไม่ ?

  22. (ต่อ) การกินปลาก็ต้องกินคอเลสเตอรอลไปด้วยแต่น้อย กว่าสัตว์บก ใชหรือไม่ ? ชาวเอสกิโมไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ เพราะอะไร ? อาหารปลามีโอเมก้า ๓ จึงลดโคเลสเตอรอลไปในตัว ?

  23. ตารางน้ำมันปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ปลา ไขมันทั้งหมด โอเมก้า ๓ ๑๐๐ กรัม กรัม ร้อยละ กรัม สวาย(เนื้อนิ่ม ทอดหรือแกง ?) ๑๓.๙๖ ๑๕.๑๒ ๒.๑๒ ปลาทู(สด นึ่ง ทำอะไร ?) ๕.๒๐ ๓๑.๔๖ ๑.๖๓ ปลาช่อน(ทำอะไร ?) ๔.๓๓ ๒๔.๒๙ ๑.๐๕ หอยนางลม(อันตราย?) ๔.๑๖ ๒๓.๓๔ ๐.๙๗ ปลากะพงแดง ๑.๖๑ ๒๙.๔๔ ๐.๔๗ ปลาหมึกกระดอง ๑.๒๒ ๓๕.๒๑ ๐.๔๓ ปลาดุกอุย(ปลาดุกทะเล) ๔.๗๕ ๕.๖๐ ๐.๒๖ ปลากราย(เหนียว) ๑.๑๕ ๑๑.๗๘ ๐.๑๔

  24. ถ้าจะกินน้ำมันปลาเป็นอาหารเสริม ควรทานวันละ ๒ – ๔ กรัม ทานปลาทู หรือปลาสวาย หรือพุงปลาช่อนหนัก ๑๐๐ กรัม(๑ขีด) ก็จะเพียงสำหรับ ๑ วัน

  25. ควรกินคอเรสเตอรอลวันละเท่าไร ? วันละ ๓๐๐ มิลลิกรัม(มก.) ไข่ไก่ ๑ ฟอง หนัก ๗๐ กรัม มีคอเรสเตอรอล ๓๕๐ มก. ๑ วันเราควรทานไข่ได้กี่ฟอง ? ถ้าทานอาหารอื่นด้วย จะทำอย่างไร ? สรุปแล้ววันหนึ่งควรทานไข่ไก่กี่ฟอง ?

  26. ปริมาณคอเรสเตอรอล อาหาร ๑๐๐ ก. คอเรสเตอ มก. อาหาร ๑๐๐ ก. คอเรสเตอ มก. สมองสัตว์> ๒,๐๐๐ หอยนางลม > ๒๐๐ ไข่แดง ๑,๔๘๐ เนยแข็ง ๙๐- ๑๑๓ ตับไก่ ๗๔๖ เนื้อปู ๑๐๑ ไข่ขาว+แดง ๕๐๔ น้ำมันหมู ๙๕ ตับหมู/วัว ๔๓๘ วัวไม่ติดมัน ๙๑ ใต ๓๗๕ หมูไม่ติดมัน ๘๙ ไข่ปลา > ๓๐๐ ไก่ ๘๐ ไอศกรีมไขมัน ๑๐ % ๔๐

  27. มาช่วยกันคิด ควรทานไข่ปลาหรือไม่ ? เพราะอะไร ? ควรทานไข่หรือไม่? ไข่คอเลสเตอรอลต่ำ ? ทำอย่างไรจึงจะได้โปรตีนจากไข่ และมีคอเลส....น้อย ? ควรทานมันกุ้ง มันปูหรือไม่ ?

  28. ข้อควรระวัง อย่าทานคู่กับยาป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวาน อาจทำให้น้ำตาลสูงขึ้น โอเมก้า ๓ ได้จากน้ำมันพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง รำข้าว แต่ร่างกายเปลี่ยนให้เป็น DHA และ EPA ได้ช้ามาก

  29. ไขมันโอเมก้า ๖ น้ำมันพริมโรสบานเย็น ไขมันโอเมก้า ๖ หรือกรดแกมมาไลโนเลนิค (GLA) โพรสต้าแกรนดิน แก้อักเสบ ลดบวม ปรับความดัน ปรับน้ำย่อย ปรับการหลั่งอินซูลิน ป้องกันการอุดตันจากเกร็ด เลือด ลดปวด เพิ่มภูมิต้านทาน ต้านมะเร็ง

  30. ปัญหาที่ฮอร์โมนโพรสต้าแกลนดินไม่พอในสูงอายุ/ป่วยปัญหาที่ฮอร์โมนโพรสต้าแกลนดินไม่พอในสูงอายุ/ป่วย พืชผัก เนื้อสัตว์ พริมโรส/น้ำนมแม่ อาหารปลา โพรสต้าแกลนดิน ๒ โพลสต้าแกลนดิน ๑ และ ๓ (ดีน้อย ไม่ดีมากกว่า) (ดีต่อร่างกาย) สูงอายุ และเจ็บป่วย

More Related