1 / 60

เศรษฐศาสตร์ การเงินและการลงทุน

เศรษฐศาสตร์ การเงินและการลงทุน. 2100311 แก่นวิศวกรรม ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์. สารบัญเนื้อหา (2). ต้นทุนของการผลิต บริษัทในตลาดที่มีการแข่งขัน การวัดรายได้ของชาติ การวัดค่าครองชีพ การเงิน และการลงทุน. ต้นทุนการผลิต. ความแตกต่างระหว่างต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์และต้นทุนเชิงบัญชี.

colby
Télécharger la présentation

เศรษฐศาสตร์ การเงินและการลงทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์ การเงินและการลงทุน 2100311 แก่นวิศวกรรม ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์

  2. สารบัญเนื้อหา (2) • ต้นทุนของการผลิต • บริษัทในตลาดที่มีการแข่งขัน • การวัดรายได้ของชาติ • การวัดค่าครองชีพ • การเงิน และการลงทุน

  3. ต้นทุนการผลิต ความแตกต่างระหว่างต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์และต้นทุนเชิงบัญชี

  4. รายได้รวม ต้นทุนรวม และผลกำไร • รายได้รวม คือ ยอดเงินที่กิจการได้รับจากการขายผลผลิต • ต้นทุนรวม คือ มูลค่าตลาดของปัจจัยป้อนเข้าที่ใช้ในการผลิต • ผลกำไร คือ ส่วนต่างระหว่างรายได้รวมและต้นทุนรวม • ต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์ จะพิจารณาต้นทุนค่าเสียโอกาส โดยมีต้นทุนปรากฏ และต้นทุนแฝง

  5. รายได้รวมเชิงเศรษฐศาสตร์ = ผลกำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ + ต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนค่าเสียโอกาส = ต้นทุนแฝง + ต้นทุนปรากฏ

  6. เกิดอะไรขึ้นในตลาดปัจจุบันเกิดอะไรขึ้นในตลาดปัจจุบัน • กางเกงยีนส์ตัวละ 390 บาท  340  330  270 บาท • เบนโตะราคา 500 เยน  300 เยน • เน็ตบุ๊ค 50,000 เยน  โน้ตบุ๊ค 50,000-70,000 เยน • Honda Hybrid (Insight) 2,500,000 เยน  Toyota Prius < 2,000,000 เยน

  7. ลูกค้าให้ลดราคา 20% ลดต้นทุนลงไป 50% ...... ได้กำไรเพิ่มขึ้น 30% ดีกว่าไหม?

  8. สามสมการในการบริหารธุรกิจสามสมการในการบริหารธุรกิจ • ราคาขาย (รายได้) = ต้นทุน + กำไร • กำไร = ราคาขาย (รายได้) – ต้นทุน • ต้นทุน = ราคาขาย (รายได้) – กำไร • สมการไหนถูกต้องที่สุด?????

  9. ต้องการกำไรเพิ่มขึ้นทำอย่างไร?ต้องการกำไรเพิ่มขึ้นทำอย่างไร? เพิ่มรายได้.......หรือลดต้นทุน? การเพิ่มรายได้ 4 วิธี และการลดต้นทุน 4 วิธี

  10. การเพิ่มรายได้และการลดต้นทุนการเพิ่มรายได้และการลดต้นทุน • การเพิ่มรายได้ • ขึ้นราคา • ลดราคา • เพิ่มส่วนแบ่งตลาด • พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ • การลดต้นทุน • เพิ่มผลิตภาพ • เพิ่มคุณภาพ • ลดความสูญเปล่า • ลดสต๊อกหรือวัสดุคงคลัง

  11. การเพิ่มรายได้หรือการลดต้นทุนทำง่ายกว่ากัน?การเพิ่มรายได้หรือการลดต้นทุนทำง่ายกว่ากัน? ลดต้นทุนเท่าไหร่จึงจะพอ (ใจ) ????

  12. การลดต้นทุน • ราคาขาย – ต้นทุน = กำไร • 100 80 20 • 100 40 60 • 100 20 80 • 100 10 90 • 100 5 95 • 100 1 99 • 100 0 ????

  13. บทเรียนจากการลดต้นทุนบทเรียนจากการลดต้นทุน • ธุรกิจไม่ใช่ “มูลนิธิ” การทำธุรกิจต้อง “โลภ” ..... ทำสินค้าและ/หรือบริการที่ดีที่สุด ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด ขายในราคาแพงที่สุด” • คำว่า “เป็นไปไม่ได้” ไม่มีในการทำธุรกิจ • กำไรสูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่อต้นทุนเป็น 0 • ต้นทุนทุกบาททุกสตางค์ที่ลดลงจะกลายเป็นกำไร เพราะฉะนั้น “ต้นทุน” คือ “กำไร” ที่สูญเสียไป

  14. กิจกรรมหลักในการลดต้นทุนกิจกรรมหลักในการลดต้นทุน • การเพิ่มผลิตภาพ • การเพิ่มคุณภาพ • การลดความสูญเปล่า • การลดวัสดุคงคลัง

  15. การเพิ่มผลิตภาพ กระบวนการ ปัจจัยป้อนเข้า ผลลัพธ์ • ประสิทธิภาพ = ผลลัพธ์/ปัจจัยป้อนเข้า • ประสิทธิผล = เป้าหมาย/ผลลัพธ์ • ผลิตภาพ = เป้าหมาย/ปัจจัยป้อนเข้า • ผลิตภาพเชิงปัจจัยรวม = ผลลัพธ์/ปัจจัยป้อนเข้ารวม

  16. ผลิตภาพที่แท้จริง = ผลลัพธ์ที่ต้องการ/ปัจจัยป้อนเข้าที่น้อยที่สุด ดังนั้น การเพิ่มผลิตภาพมี 1 วิธี คือ การลดปัจจัยป้อนเข้า

  17. การเพิ่มคุณภาพ • คุณภาพคืออะไร? • ตรงตามข้อกำหนด....... • ตรงตามมาตรฐาน....... • ตรงตามความต้องการ....... • บทเรียนจาก โคโนสึเกะ มัตสึชิตะ • ใคร คือผู้ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสร้างคุณภาพ • ใคร คือผู้รับผิดชอบสูงสุดในเรื่องคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการ • อัตราของเสีย = จำนวนของเสีย / จำนวนชิ้นงานที่ผลิตทั้งหมด

  18. โคโนสึเกะ มัตสึชิตะ • เหตุผลในการคงอยู่ของบริษัท องค์กร หน่วยงาน และบุคคล คือ ความสามารถในการสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง

  19. การลดความสูญเปล่า • ความสูญเปล่า VS คุณค่า ?? • ความสูญเปล่า 7 ประการ ผลิตมากเกินไป การเคลื่อนไหว การตรวจสอบ การขนส่ง ของเสีย สต๊อก ความล่าช้า • อัตราเวลาในการสร้างคุณค่า = เวลาสร้างคุณค่า/เวลาทำงานทั้งหมด

  20. การลดสต๊อกหรือวัสดุคงคลังการลดสต๊อกหรือวัสดุคงคลัง • วัสดุคงคลังหรือสต๊อก แบ่งได้เป็นสองกลุ่ม สามประเภท • กลุ่มตามหลักการบัญชีบริหาร วัสดุคงคลังหมุนเวียน วัสดุคงคลังสำรอง วัสดุคงคลังตาย • กลุ่มตามหลักการทางกายภาพ วัตถุดิบ งานระหว่างทำ ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป • ลดระดับวัสดุคงคลังหมุนเวียน หลีกเลี่ยงวัสดุคงคลังสำรอง ขจัดวัสดุคงคลังตาย • หากจำเป็น ให้เก็บเฉพาะวัตถุดิบเท่านั้น

  21. หลักการลดต้นทุน บทบาทของ “จุดคุ้มทุน”

  22. ประเภทของต้นทุน • ต้นทุนคงที่ Fixed Cost (FC) : เงินเดือน ค่าเช่า ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ย • ต้นทุนแปรผัน Variable cost (VC) : วัสดุ ค่าแรง พลังงาน ค่าบำรุงรักษา • ต้นทุนรวม Total Cost (TC) = Fixed Cost (FC) + Variable Cost (VC) • ปริมาณที่จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ / (ราคาขาย – ต้นทุนแปรผัน)

  23. กราฟจุดคุ้มทุน Sale TC1 Money Value VC1 + VC2 TC2 TC3 - FC1 FC2 BEPV BEP Total Amount BEPF

  24. ธุรกิจในอุดมคติ คือ ธุรกิจที่ไม่มีต้นทุนคงที่ Sale Money Value VC=TC + Total Amount

  25. ประโยชน์ของจุดคุ้มทุนประโยชน์ของจุดคุ้มทุน • ใช้ในการตัดสินใจปริมาณการผลิต • ใช้ในการตัดสินใจเลือกทำโครงการ • ใช้ในการตัดสินใจเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ เปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ • ใช้ในการตัดสินใจซื้อหรือผลิตเอง • ใช้ตัดสินใจกำหนดราคา • ใช้ตัดสินใจเรื่องเพิ่มผลผลิต

  26. ดัชนีวัดความอยู่รอด • อัตราการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง Inventory Turnover • อัตราของเสีย Defective Ratio • อัตราการลดจุดคุ้มทุน BEP Reduction Rate • เวลาในการเตรียมงานตั้งเครื่อง Set-up time • อัตราเวลาในการสร้างคุณค่า Value-added time ratio • ประสิทธิภาพเชิงรวมของเครื่องจักรอุปกรณ์ Overall Equipment Efficiency

  27. Inventory Turnover = Average Sale/Average Inventoryอัตราการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง = ยอดขายต่อปี/วัสดุคงคลังเฉลี่ย …minus inventory turnover… myth or reality….

  28. Defective Ratio = Total Defect (mistake)/Total Production(service)อัตราของเสีย = ของเสียทั้งหมด/ปริมาณการผลิตทั้งหมด ….zero defect and ISO 9000 ….

  29. Break-even Point = Fixed Cost/(Price per unit-Variable Cost)จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ / (ราคาต่อหน่วย – ต้นทุนแปรผัน) ….zero break-even point … eternity company

  30. Set-up time = Period between the output of final unit to the output of the first different unit เวลาเตรียมงานตั้งเครื่อง = ระยะเวลาระหว่างที่ได้งานชิ้นสุดท้ายของสินค้าชนิดหนึ่งถึงเวลาที่ได้งานชิ้นแรกของสินค้าชนิดถัดไป ….set-up time is the key to small lot big variety production…lean manufacturing or TPS…

  31. Value-added time ratio = time for actual production (service)/total working timeอัตราเวลาเพิ่มคุณค่า = เวลาที่ใช้ในการผลิตจริง / เวลาทำงานทั้งหมด …….waste or value….who care??

  32. Overall Equipment Efficiency = up-time ratio x speed ratio x quality ratioประสิทธิภาพเชิงรวมของอุปกรณ์ = อัตราการเดินเครื่องใช้งาน X อัตราความเร็วเครื่อง X อัตราของดีที่ผลิตได้ ….good maintenance….zero breakdown…!!

  33. World Class Values • Inventory Turnover ……….. 80-120 • Defective Ratio … 2 ppm, ppb, 0 • Break-even Point Reduction 10%/year • Set-up time …… SM, SS • Value-added time ratio …. 50-60% • Overall Equipment efficiency … 80%+

  34. ปรัชญาการจัดการของบริษัทที่คงอยู่ต่อเนื่องปรัชญาการจัดการของบริษัทที่คงอยู่ต่อเนื่อง • พันธกิจ : สร้างสรรค์ความสุขและความพึงพอใจให้กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย 5 กลุ่ม • พนักงานและครอบครัว • พนักงานของผู้รับช่วงผลิต • ลูกค้าและผู้ใช้ • สังคม • ผู้ถือหุ้น From Kochi Sakamoto : Nihon de ichiban taisetsu ni shitai kaisha

  35. การวัดรายได้ของชาติ GDP = Gross Domestic Product = มูลค่าตลาดของผลิตภัณฑ์และบริการที่ผลิตขึ้นในประเทศหนึ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

  36. GDP (Y) = C + I + G + NX C = การบริโภค I = การลงทุน G = รายจ่ายภาครัฐ NX = การส่งออกสุทธิ

  37. “ % ของเศรษฐกิจใต้ดินต่อ GDP” • Bolivia 68 • Zimbabwe 63 • Peru 61 • Thailand 54 • Mexico 33 • Argentina 29 • Sweden 18 • Australia 13 • United Kingdom 12 • Japan 11 • Switzerland 9 • United States 8

  38. GDP ไม่ได้วัด มูลค่าของผลิตภัณฑ์และบริการในครอบครัว คุณภาพของสิ่งแวดล้อม การกระจายรายได้ ประเทศที่มีค่า GDP สูง ประชากรมักมีอายุยืนยาว มีอัตราการรู้หนังสือสูง เข้าถึงข่าวสารข้อมูลได้มาก

  39. การวัดค่าครองชีพ CPI = ดัชนีราคาผู้บริโภค PPI = ดัชนีราคาผู้ผลิต

  40. ขั้นตอนการคำนวณ CPI • กำหนดกลุ่มสินค้าและบริการหลัก (ปัจจัย 4 การคมนาคม การพักผ่อน ฯลฯ) • หาราคาของแต่ละสินค้าและบริการ • คำนวณต้นทุนรวมของสินค้าและบริการ • กำหนดปีฐานและคำนวณดัชนี • คำนวณอัตราเงินเฟ้อ

  41. CPI = (ต้นทุนรวมของสินค้าและบริการในปีปัจจุบัน/ต้นทุนของปีฐาน) X 100 อัตราเงินเฟ้อของปี n = ((CPI ปีที่ (n-1) – CPI ปีที่ n) /CPI ปีที่ n) X 100

  42. การเงินและการลงทุน เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

  43. การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม • เป็นการพิจารณาเชิงเศรษฐศาสตร์ในด้านคุณค่าของผลงานเทียบกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น • สามารถวิเคราะห์โครงการทางวิศวกรรมได้ว่าควรทำหรือไม่? • เช่น ควรทำ Floodway หรือเขื่อนแก่งเสือเต้นหรือไม่? • ควรสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทยหรือไม่? • ควรมีโรงงานผลิตเหล็กสมบูรณ์แบบในประเทศไทยหรือไม่?

  44. หลักการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์หลักการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ • เงินมีความสัมพันธ์กับเวลา • การเปลี่ยนแปลงในอนาคตมีไม่มาก • การคาดหมายอนาคตมีความแม่นยำพอควร

  45. กฎและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์กฎและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ • กฎของความขาดแคลน... The Law of Scarcity • กฎของการลดลงของผลได้….. The Law of Diminishing Return • หลักของการผลิตจำนวนมาก…..Mass Production • อุปสงค์และอุปทาน ...... Demand & Supply • ราคา เงินเฟ้อ และเงินฝืด ...... Price, Inflation & Deflation

  46. กฎของความขาดแคลน..... ต้องตัดสินใจเลือกใช้ หรือทำอย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับทรัพยากรที่จำกัด กฎการลดลงของผลได้......ผลประโยชน์ตอบแทนต่อหน่วยของปัจจัยป้อนเข้าจะเพิ่มขึ้นจนถึงจุด ๆ หนึ่ง หลังจากนั้นจะลดลง

  47. ชนิดของต้นทุน • ต้นทุนเสียโอกาส • ต้นทุนจม ..... ต้นทุนที่ชำระไปแล้วในอดีต • ต้นทุนตามบัญชี.... หักค่าเสื่อมราคาแล้ว • ต้นทุนเงินสด • ต้นทุนการทดแทนทรัพย์สิน

  48. ชนิดของต้นทุน • ต้นทุนเปลี่ยนย้ายได้ ... เปลี่ยนแปลงตามความจำเป็นในช่วงเวลา • ต้นทุนเพิ่ม • ต้นทุนเพิ่มต่อหน่วย • ต้นทุนแยกได้และต้นทุนร่วม

  49. ชนิดของต้นทุน • ต้นทุนควบคุมได้และต้นทุนลดได้ • ต้นทุนโดยตรงและต้นทุนทางอ้อม • ต้นทุนค้างจ่ายและต้นทุนรอการตัดบัญชี • ต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน • ต้นทุนแรกเริ่มและต้นทุนดำเนินงาน

More Related