1 / 45

การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำเสนอโดย นายสานิตย์ หาญรบ

การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำเสนอโดย นายสานิตย์ หาญรบ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดกำแพงเพชร โทรมือถือ 081 - 398 5983 Email - no _nonal @ hotmail.com. กระบวนการจัดหาพัสดุ.

cole-lynn
Télécharger la présentation

การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำเสนอโดย นายสานิตย์ หาญรบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำเสนอโดย นายสานิตย์ หาญรบ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดกำแพงเพชร โทรมือถือ 081 - 398 5983 Email - no _nonal @ hotmail.com

  2. กระบวนการจัดหาพัสดุ 1. ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 2. ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุของ อบต. พ.ศ. 2538

  3. กำหนดความต้องการ • การตั้งงบประมาณ • การจัดหา • การควบคุม • การจำหน่าย กระบวนการบริหารพัสดุ

  4. ประเภทของการจัดหา - การจัดทำเอง - การจัดซื้อ - การจัดจ้าง - การจ้างที่ปรึกษา - การจ้างออกแบบและควบคุมงาน - การเช่า - การแลกเปลี่ยน กระบวนการจัดหาพัสดุ - การยืม

  5. การจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามหลักเกณฑ์ • ที่กระทรวงการคลังกำหนด วิธีการจัดหา

  6. ขอความเห็นชอบ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 5 วิธี ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ดำเนินการ ขออนุมัติ ผู้บริหารท้องถิ่น การทำสัญญา - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน การตรวจรับ ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง

  7. - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา สาระของรายงาน

  8. คณะก.ก. เปิดซองสอบราคา  คณะก.ก. รับและเปิดซองประกวดราคา  คณะก.ก. พิจารณาผลการประกวดราคา  คณะก.ก. จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ  คณะก.ก. จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ  คณะก.ก. ตรวจรับพัสดุ  คณะก.ก. ตรวจการจ้าง+ผู้ควบคุมงาน กรรมการ ซื้อ/จ้าง

  9. - ประธาน 1 คน - กรรมการอย่างน้อย 2 คน - แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป - ผู้แทนชุมชน ประชาคม *ตั้งเป็นครั้งๆ ไป องค์ประกอบของคณะกรรมการ

  10. แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซอง ประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผล • การประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล • การประกวดราคา เป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ ข้อห้าม

  11. - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์ การประชุมของคณะกรรมการ

  12. การดำเนินงานโดยวิธีตกลงราคา (1) จนท. พัสดุ 3 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน 5 ใบสั่ง หน. จนท.พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง

  13. ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็นเร่งด่วน • ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน • ดำเนินการตามปกติไม่ทัน วิธีการ - เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือ ผู้รับผิดชอบดำเนินการไปก่อน - รายงานขอความเห็นชอบภายหลัง ถ้าวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท ทำรายงานเฉพาะที่รายการที่จำเป็นได้ - ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ การดำเนินงานโดยวิธีตกลงราคา (2)

  14. ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทำประกาศ - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดย เปิดเผย + เผยแพร่ทางเว็บไซต์ เผยแพร่เอกสาร การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (1)

  15. - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง - ระบุวันและเวลารับซอง การรับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าที่พัสดุทันที - หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ การเก็บรักษาซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(2) - วันเริ่มต้นรับซองอยู่ห่างจากวันปิดการรับซอง ไม่น้อยกว่า 10 วัน

  16. คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ • เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคาแล้วคัดเลือก ผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขและเสนอราคาต่ำสุด • ราคาเท่ากันหลายรายยื่นซองใหม่ • ถูกต้องรายเดียวดำเนินการต่อได้ การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(3)

  17. กรณีเกินวงเงิน • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือ • สูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มเงิน หรือยกเลิกการสอบราคา การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(4)

  18. รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการรับและเปิดซอง - รับซอง - ตรวจหลักประกันซอง - รับเอกสารหลักฐาน - เปิดซอง,อ่านราคา,ลงชื่อในเอกสาร • จัดทำเอกสารตามตัวอย่าง - ประกาศเผยแพร่ 7 วันทำการ • - วิธีประกาศ - ให้หรือขายแบบ 10 วันทำการ • - ประกาศเพิ่มเติม คณะกรรมการพิจารณาผลฯ - ตรวจสอบคุณสมบัติ / เงื่อนไข - คัดเลือกสิ่งของ / งานจ้าง - พิจารณาราคา * เกณฑ์ปกติ * ราคาต่ำสุด * เท่ากันหลายราย * ยื่นซองใหม่ * ถูกต้องรายเดียว * ยกเลิก * ไม่มีผู้เสนอราคา * ยกเลิก * มีแต่ไม่ถูกต้อง * ยกเลิก ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีประกวดราคา เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญก่อนทำสัญญา - ยกเลิก ยื่น 2 ซอง - คำนึงถึงเทคโนโลยีข้อกำหนดพิเศษ - ข้อเสนอไม่อยู่ในฐานเดียวกัน

  19. บุคลากรในการประกวดราคาบุคลากรในการประกวดราคา 1. ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง (ผู้บริหารท้องถิ่น,ผวจ,นอ.) 2. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ (หน.จนพ.) 3. เจ้าหน้าที่พัสดุ (จนพ.) 4. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง* 5. ผู้บันทึกทะเบียนประกาศ 6. ผู้ปิดประกาศและพยาน 7. ผู้ปลดประกาศและพยาน (ผู้บันทึก = ผู้ปลด) 8. ผู้นำส่งประกาศ 9. ผู้รับประกาศ (สารบรรณ/ธุรการกลาง) 10. คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา 11. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา 12. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/คณะกรรมการตรวจการจ้าง* 13. ผู้ควบคุมงาน* *ใช้เฉพาะการจ้างก่อสร้างเท่านั้น

  20. ขั้นตอนการประกวดราคา 1. การทำประกาศ และเอกสารประกวดราคา 2. การเผยแพร่ข่าวประกวดราคา 3. การให้/ขายรูปแบบ 4. การรับซองประกวดราคา 5. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน 6. การเปิดซองประกวดราคา 7. การพิจารณาผลการประกวดราคา

  21. การทำประกาศและเอกสารประกวดราคาการทำประกาศและเอกสารประกวดราคา • ทำตามตัวอย่าง ที่ มท. กำหนด • ผู้จัดทำ : จนพ. • ผู้ลงนาม : ผู้บริหารท้องถิ่น : หน.จนพ. • ผู้ควบคุม : หน. จนพ.

  22. การเผยแพร่ข่าวประกวดราคาการเผยแพร่ข่าวประกวดราคา • ระยะเวลา : ก่อนการให้/ขายเอกสารประกวดราคา ไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ • มี 7 วิธี คือ • 1. ปิดประกาศ • 2. ส่งวิทยุ/นสพ. • 3. ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • 4. ส่ง อ.ส.ม.ท. • 5. ส่งศูนย์รวมข่าวการประกวดราคา* • - ส่วนกลาง : กรมประชาสัมพันธ์ • - ส่วนภูมิภาค : สำนักงานจังหวัด • 6. ส่งสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค* • 7. ส่งจังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ • *ต้องส่งเอกสารประกวดราคาไปด้วย

  23. การให้/ขายรูปแบบ • ระยะเวลา : ไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ • สถานที่ : ติดต่อได้โดยสะดวก • ไม่เป็นเขตหวงห้าม • จำนวน : ให้มากพอ รายละ 1 ชุด • เงื่อนไข : ห้ามกำหนด • ผู้รับผิดชอบ : ???

  24. การรับซองประกวดราคา • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • 1. รับซองราคา ลงทะเบียน ลงชื่อกำกับซอง • 2. ร่วมกับ จนท. การเงิน ตรวจสอบหลักประกันซอง • 3. รับเอกสาร • - เอกสารส่วนที่ 1 • - เอกสารส่วนที่ 2 • 4. ส่งมอบเอกสารส่วนที่ 1 ให้คณะกรรมการพิจารณา • ผลการประกวดราคา • 5. เก็บรักษาซองราคา และเอกสารส่วนที่ 2

  25. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันการตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ระยะเวลา : ต้องเสร็จก่อนการเปิดซอง • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ในฐานะ “เจ้าหน้าที่ที่มี • หน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติ”) • 1. ตรวจสอบเอกสารส่วนที่ 1 ว่าผู้เสนอราคาเป็นผู้ที่มีผลประโยชน์ • ร่วมกันหรือไม่ คือ • - ความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร • - ความสัมพันธ์ในเชิงทุน • - ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน • 2. ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือก • 3. แจ้งผลให้คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคาดำเนินการ • ต่อไป

  26. การเปิดซองประกวดราคา • ระยะเวลา : ตามที่กำหนดไว้ในประกาศ • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • 1. เปิดซอง อ่านราคา อ่านบัญชีเอกสาร • ส่วนที่ 2 ทุกรายการที่ผ่านการคัดเลือก • 2. ส่งมอบใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานให้ • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทันที

  27. การพิจารณาผลการประกวดราคาการพิจารณาผลการประกวดราคา • ระยะเวลา : ตามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • 1. ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ • เพื่อคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขประกวดราคา • หรือผิดในส่วนที่มิใช่สาระสำคัญหรือผิดพลาดเล็กน้อย • 2. พิจารณาคัดเลือกสิ่งของ งานจ้างหรือคุณสมบัติของผู้เสนอราคา • ซึ่งมีคุณภาพเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ • 3. เสนอให้ซื้อ/จ้าง รายต่ำสุดที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกตามข้อ 1 • และข้อ 2 • 4. ต่อรองราคา : ??? • 5. รายงานผลต่อผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง

  28. ขั้นตอนการซื้อโดยวิธีพิเศษขั้นตอนการซื้อโดยวิธีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ เงื่อนไข วิธีการ 1. ขายทอดตลาด เจรจาตกลงราคา 2. เร่งด่วน เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง 3. ซื้อจากต่างประเทศสั่งซื้อโดยตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ 4. จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง 5. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผล สืบราคาผู้มีอาชีพรายอื่นเปรียบเทียบกับผู้เสนอราคาเดิม และต่อรอง6. ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้างเฉพาะแห่ง เชิญเจ้าของมาเสนอราคาและต่อรอง

  29. ขั้นตอนการจ้างโดยวิธีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ เงื่อนไข วิธีการ 1. ช่างฝีมือ/ชำนาญพิเศษ 2. ซ่อมพัสดุที่ต้องถอดตรวจ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา 3. เร่งด่วน-ช้าเสียหาย และต่อรอง 4. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผล - สืบราคาผู้มีอาชีพรับจ้างรายอื่น เปรียบเทียบกับผู้เสนอราคาเดิมและต่อรอง

  30. รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ เสนอสั่งซื้อ/จ้าง ติดต่อตกลงราคา ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจหน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเอง 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีให้ซื้อ/จ้าง ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ

  31. หลักการจัดหาที่ดี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลประหยัด เปิดเผย คุณภาพดี โปร่งใส ปริมาณถูกต้อง พัสดุที่จัดหา กระบวนการจัดหา เป็นธรรม ส่งของตรงเวลา ตรวจสอบได้ ราคาเหมาะสม จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการ ความรู้ กำไร ผู้ประกอบการ จรรยาบรรณ ความสามารถ ต้นทุน ความซื่อสัตย์ คุณสมบัติเหมาะสม จริยธรรม

  32. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป 1.1 ตัวอย่างสัญญาที่ มท. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่างเสียเปรียบ/ ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ } ส่ง สนง. อัยการสูงสุด 2. ลดรูป ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/จ้าง) 2.1 ตกลงราคา2.2 ส่งของ 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูปแบบ 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท3.2 ตกลงราคาฉุกเฉิน

  33. การแก้ไขสัญญา หรือข้อตกลง หลักการ : ลงนามแล้วแก้ไขไม่ได้ เหตุที่แก้ไขได้◊ เป็นความจำเป็นโดยไม่ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เสียประโยชน์ ◊ เป็นการแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ผู้มีอำนาจแก้ไข ผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผวจ. กรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ วิธีการ : จัดทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม : เพิ่ม/ลด วงเงิน ระยะเวลา ตกลงไปพร้อมกัน : ได้รับการรับรอง ถ้าเป็นงานเทคนิค/งานเกี่ยวกับความมั่นคง แข็งแรง

  34. การปรับ อัตราและเงื่อนไข ►ซื้อ/จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = ร้อยละ 0.01- 0.20 ของราคาพัสดุยังไม่ได้รับมอบ ►จ้างต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = เงินตายตัวในอัตรา ร้อยละ 0.01-0.1 (> 100 บาท) ►จ้างก่อสร้างที่มีผลกระทบต่อการจราจรในอัตรา ร้อยละ 0.25 ผู้มีอำนาจกำหนด : ผู้บริหารท้องถิ่น

  35. วิธีการปรับ 1. แจ้งการปรับเมื่อครบกำหนด (มุ่งถึงจะมีการบอกเลิกสัญญา) , สงวนสิทธิปรับ เมื่อส่งมอบ2. นับถัดจากวันครบกำหนดถึงวันส่งมอบ 3. อัตราตามสัญญา ข้อตกลง4. ของเป็นชุดปรับทั้งชุด5. ของคิดราคารวมติดตั้งทดลองปรับตามราคาทั้งหมด

  36. การงดหรือลดค่าปรับ / การขยายเวลาทำการ เหตุ1. เกิดจากความผิดของท้องถิ่น 2. เหตุสุดวิสัย 3. พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ระยะเวลาต้องแจ้งภายใน 15 วัน นับแต่เหตุสิ้นสุดลง ยกเว้น เหตุตาม 1 อำนาจ ผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีเกินวงเงินสั่งซื้อ-สั่งจ้าง

  37. ตามตัวอย่าง มท. การลงทะเบียน ถูกต้อง / เรียบร้อย / ครบถ้วนปลอดภัย / ใช้สะดวก การเก็บรักษา การเบิกจ่าย ผู้เบิก หัวหน้าหน่วยใช้ ผู้สั่งจ่าย หัวหน้าควบคุม การตรวจสอบ ประจำปี / ระหว่างปี การควบคุม แบ่งออกเป็น

  38. ทอดตลาดก่อน ไม่ได้ผลให้นำวิธีเกี่ยวกับการซื้อมาใช้ ราคาไม่เกิน 1 แสนบาท หรือขายให้ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ / ท้องถิ่นองค์กรสาธารณกุศล ขายโดยวิธีตกลงราคา ขาย การจำหน่าย

  39. แลกเปลี่ยน วัสดุ / วัสดุ ครุภัณฑ์ / ครุภัณฑ์ชนิดเดียวกันให้ผู้บริหารอนุมัติ ครุภัณฑ์ / ครุภัณฑ์ต่างชนิด หรือจ่ายเงินเพิ่ม และที่ดิน / สิ่งก่อสร้าง ให้สภาเห็นชอบ / มท. อนุมัติ

  40. ให้โอนได้เฉพาะส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ องค์กรสาธารณกุศล โดยมีหลักฐานการส่งมอบไว้ต่อกัน ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ท้องถิ่นกำหนด โอน แปรสภาพ หรือ ทำลาย

  41. ขั้นตอนการจัดซื้อ/จ้างขั้นตอนการจัดซื้อ/จ้าง 1. ก่อนดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง 1.1 ทำแผนการจัดหา/ปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง 1.2 สำรวจแหล่งเงิน ว่ามีเงินพอหรือไม่ - เงินงบประมาณ (เงินรายได้) - เงินนอกงบประมาณ (เงินอุดหนุน/เงินบริจาค ที่เจาะจง) - เงินที่มีการระบุเงื่อนไขไว้ชัดเจน (เงินกู้/ช่วยเหลือ ฯลฯ) 1.3 เลือกวิธีซื้อ/จ้าง ตามวงเงิน

  42. ขั้นตอนการจัดซื้อ/จ้าง (ต่อ) 2. ดำเนินการซื้อ/จ้าง 2.1 ทำรายงานขออนุมัติ ตามวิธีการซื้อ/จ้าง2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อ/จ้าง2.3 ทำเอกสาร/ประกาศ ตามวิธีซื้อ/จ้าง2.4 คัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง2.5 ทำสัญญา/ข้อตกลง2.6 ควบคุมการทำงาน (ถ้ามี)2.7 ตรวจรับพัสดุ / งานจ้าง2.8 เบิกจ่ายเงิน

  43. ขั้นตอนการจัดซื้อ/จ้าง (ต่อ) 3. หลังดำเนินการ 3.1 ลงทะเบียนควบคุม3.2 มอบให้หน่วยงานผู้ใช้3.3 ตรวจสอบประจำปี3.4 จำหน่าย

  44. THE END

More Related