380 likes | 544 Vues
สำนักงาน ก.พ.ร. เปิดบ้านจัดคลินิกให้คำปรึกษาการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ( Certified FL). 6 ก.พ. 56 – 13 มี.ค. 56. วัตถุประสงค์ของการตรวจ Certified FL. เป็นการตรวจรับรองเพื่อให้มั่นใจว่า ส่วนราชการ
E N D
สำนักงาน ก.พ.ร. เปิดบ้านจัดคลินิกให้คำปรึกษาการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified FL) 6 ก.พ. 56 – 13 มี.ค. 56
วัตถุประสงค์ของการตรวจ Certified FL • เป็นการตรวจรับรองเพื่อให้มั่นใจว่า ส่วนราชการ • มีแนวทางหรือระบบต่าง ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการขององค์การ (ลักษณะสำคัญขององค์การ และ การบริหารจัดการตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน) • • นำแนวทางไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง • • มีการปรับปรุงแนวทางหรือระบบให้มีความเหมาะสม • ฉะนั้น การตรวจรับรองฯ จึงเป็นการสอบทานว่าส่วนราชการ “สามารถพัฒนาองค์การได้ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน” และมีความพร้อมในการขอรับ รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการตรวจ Certified FL • แนวทางการตรวจประเมิน • ผู้ตรวจหน่วยละ 2 คน และเจ้าหน้าที่ ก.พ.ร. • ระยะเวลาการตรวจ 1 วัน ตั้งแต่เวลา 09.00 – 16.00 น. • การตรวจประเมินจะพิจารณาผลการดำเนินการ 2 ปี คือ • - ปี 2554 ดูว่ายังคงมีการรักษามาตรฐานการปฏิบัติตามเกณฑ์ PMQA • - ปี 2555 เพื่อดูความต่อเนื่องหรือการปรับปรุงพัฒนาที่ดีขึ้น • ส่วนราชการนำเสนอ OP 15 นาที นำเสนอหมวด 1-6 อีก 15 นาที • การตรวจ ใช้วิธีสัมภาษณ์ ไม่เน้นการตรวจเอกสาร (เอกสารจะขอดูในประเด็นผู้ตรวจสงสัย หรือส่วนราชการชี้แจงไม่ชัดเจนจนเป็นข้อสงสัย) และจะพิจารณารวมถึงความเชื่อมโยงการทำงานอย่างบูรณาการกันของหมวดต่าง ๆ • ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากรหลักในทุกหมวด
แนวทางการตรวจ Certified FL • แนวทางการตรวจประเมิน (ต่อ) • ผู้ตรวจกล่าวสรุปภายหลังการตรวจเสร็จสิ้น โดยให้คำแนะนำข้อคิดเห็นเพื่อให้ส่วนราชการนำไปปรับปรุงพัฒนาองค์การต่อได้ (หากมีเวลา) • สำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลประเมินให้ส่วนราชการทราบหลังจากได้ประชุมผู้ตรวจเพื่อสรุปภาพรวมการตรวจประเมินทุกส่วนราชการเรียบร้อยแล้ว
แนวทางการตรวจ Certified FL • การเตรียมตัวของส่วนราชการ • นัดผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง • ประเมินตนเองตามโปรแกรม Certified FL และนำผล Feedback Report ตัวชี้วัดที่ผ่านมา เพื่อใช้ในการปรับปรุง • จัดทำ Power point นำเสนอในภาพลักษณะสำคัญขององค์การ 15 นาที และการดำเนินการในแต่ละหมวด 15 นาที • เตรียมใจให้เบิกบาน และเตรียมกายให้แข็งแรง
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 1. OP 15 คำถาม 2. เกณฑ์ PMQA 7 หมวด 90 คำถาม 6
การตรวจ Certified FL จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ (โปรดสังเกตข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็นจุดเน้นการตรวจรับรองในเชิงคุณภาพ) ลักษณะสำคัญขององค์กร เริ่มจากการสัมภาษณ์ลักษณะสำคัญขององค์กร แต่ละข้อคำถามเกี่ยวกับ แนวคิดระบบบริหารจัดการ การกำกับดูแลตนเองที่ดี ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกัน เป็นการถามถึงความต้องการขององค์กรที่จะนำไปใช้เป็นพื้นฐานสำคัญในการกำหนดระบบการบริหารจัดการในหมวดต่างๆ หมวด 1 การนำองค์การ เน้นบทบาทของผู้บริหารในการผลักดันองค์การให้บรรลุวิสัยทัศน์ด้วยการสื่อสารที่ชัดเจนเพื่อทำให้นำไปปฏิบัติและกำกับดูแลใหัดำเนินการตามหลักธรรมาภิบาล
ตัวอย่างแนวทางการตรวจตัวอย่างแนวทางการตรวจ LD 1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้
ตัวอย่างแนวทางการตรวจตัวอย่างแนวทางการตรวจ ประเด็นพิจารณา การกำหนดทิศทางองค์การควรมีแนวทางขั้นตอนที่เป็นระบบ มีความสอดคล้องกับพันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามที่กำหนดไว้ในลักษณะสำคัญขององค์การ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพควรมีการกำหนดช่องทางวิธีการสื่อสารในแต่ละกลุ่มบุคลากรเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง โดยวิธีการสื่อสารควรมีการระบุให้ชัดเจนว่าช่องทางใด สื่อสารข้อมูลประเภทใด ใครเป็นผู้สื่อสาร สื่อสารไปยังกลุ่มใด ความถี่ในการสื่อสาร และเมื่อดำเนินการแล้วควรมีประเมินประสิทธิภาพของแต่ละช่องทางการสื่อสารว่าบุคลากรในแต่ละกลุ่มมีการรับรู้และเข้าใจเป็นอย่างไร เพื่อจะได้นำผลดังกล่าวมาปรับปรุงพัฒนาการใช้ช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมต่อไป
ตัวอย่างแนวทางการตรวจตัวอย่างแนวทางการตรวจ ประเด็นพิจารณา เมื่อส่วนราชการได้มีการสื่อสารถ่ายทอดทิศทางขององค์การไปสู่บุคลากรทั่วทั้งองค์การแล้ว ควรมีการติดตามประเมินผลว่าบุคลากรมีการรับรู้และเข้าใจในทิศทางขององค์การและนำแนวทางไปปฏิบัติเป็นอย่างไร และนำผลประเมินดังกล่าวไปสู่การทบทวนปรับปรุงแนวทางหรือวิธีการสื่อสารสร้างการรับรู้เข้าใจให้ดีขึ้นต่อไปได้อย่างไร
การตรวจ Certify FL จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ (โปรดสังเกตข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็นจุดเน้นการตรวจรับรองในเชิงคุณภาพ) หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เน้นกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ สอดคล้องกับความท้าทายขององค์การมีการกำหนดตัวชี้วัด ติดตามทบทวนผลการดำเนินการเพื่อให้มีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เน้นการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการของแต่ละกลุ่ม และการจัดลำดับความสำคัญที่สอดคล้องกับพันธกิจรวมทั้ง การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ โดยกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ เน้นระบบฐานข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย รวมทั้ง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความพร้อมใช้งานและปลอดภัย ที่นำมาใช้ในสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องแสดงให้เห็นว่า ได้นำข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจหรือบริหารจัดการอย่างไร
การตรวจ Certified FL จุดมุ่งเน้นของประเด็นการตรวจรับรอง ฯ (โปรดสังเกตข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็นจุดเน้นการตรวจรับรองในเชิงคุณภาพ) หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เน้นการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อให้ส่วนราชการบรรลุเป้าประสงค์ทางยุทธศาสตร์ ให้บุคลากรมีความผาสุก ความพึงพอใจ และความผูกพันกับส่วนราชการ รวมทั้งสอดคล้องกับความท้าทายด้านบุคลากรตามลักษณะสำคัญขององค์กร หมวด 6 การจัดการกระบวนการ การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่สนองตอบต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การออกแบบกระบวนการเพื่อให้บรรลุต่อข้อกำหนดของกระบวนการ รวมทั้งการปรับปรุงกระบวนการเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นการตรวจสอบผลลัพธ์ของกระบวนการของการดำเนินการตามหมวด 1-6 ว่ามีระดับผลการดำเนินการเป็นอย่างไร
การตรวจ Certified FL ตัวอย่าง โปรแกรม Self Certified FL แต่ละหมวดจะต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 จึงจะผ่าน Certified FL
หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร เป้าประสงค์ ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 5,6 LD 1 ค่านิยม Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2waysแต่ละกลุ่ม OP 3,8 LD 6 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง • นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 1 • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ • ติดตามผล สร้างบรรยากาศ LD 2 LD 3 การทำงานมีผลกระทบต่อสังคม ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) LD 7 LD 3 ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ • เชิงรับ-แก้ไข ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ทบทวนผลการดำเนินการ หมวด 2 • เชิงรุกคาดการณ์ • ป้องกัน LD 4 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ LD 4 ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร LD 4
หมวด 2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ทิศทางองค์กร ภายนอก วางแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัย โอกาส/ความท้าทาย (OP) ระยะสั้น ยาว SP 1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ภายใน SP 2 ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก Stakeholder (OP) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) SP 5 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ SP 4 การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ SP 7 ตัวชี้วัดใช้ติดตาม แผนปฏิบัติการ เป้าหมาย • ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ • ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล • ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • - ความเสี่ยงด้านกระบวนการ SP 3 แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล SP 3 จัดสรรทรัพยากร SP 6 นำไปปฏิบัติ SP 6
หมวด 3 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต สอดคล้องตาม OP (8) CS1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หาเครื่องมือที่เหมาะสมแต่ละกลุ่ม CS2 รับฟังความต้องการ/ความคาดหวัง วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม(Common Need) CS 2 พัฒนาบริการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล- ขอรับบริการ- ร้องเรียน- กิจกรรม การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี CS4 CS5 CS7 CS3 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน ติดตามคุณภาพบริการ CS3 วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ CS6 CS6 CS3 ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6)
หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6)Daily Management IT 5 - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผลการวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ- ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน- การเข้าถึง - เชื่อถือได้- ปลอดภัย- ใช้งานง่าย IT 4, 6 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศและความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 - 3 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing
หมวด 5 สภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจ HR 1 หาปัจจัย สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย- การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน การสร้างความและความพึงพอใจแก่บุคลากร กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ ระบบยกย่อง/จูงใจ ระบบประเมินผล HR 2 ประเมินผล กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น ระบบงาน HR 3 จัดลำดับความสำคัญ สอดคล้อง กับผลลัพธ์องค์กร สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน HR 5 ปรับปรุง • ความจำเป็น (Training Need) • ความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ บุคลากร ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา HR 3 HR 3 องค์กร สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ HR 4 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล- ผลการดำเนินงานขององค์กร
หมวด 6 กำหนดกระบวนการ กระบวนการที่สร้างคุณค่า, กระบวนการสนับสนุน PM 1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ PM 2 กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบกระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ PM 3 เป้าหมายภารกิจ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ PM 5 การจัดการกระบวนการสู่การปฏิบัติ คู่มือการปฏิบัติงาน สอดคล้องตาม OP ปรับปรุงกระบวนการ อบรม สร้างความเข้าใจ PM6 ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ ป้องกันความผิดพลาด PM 4 PM 6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ PM6 IT7 นวัตกรรม
สรุปภาพการบูรณาการทำงานโดยใช้เครื่องมือ PMQA มาช่วย เตรียมพัฒนาบุคลากรทั้งการปฏิบัติงาน และสร้างความผาสุก หมวด 5 พันธกิจ หมวด 1 จำนวนบุคลากร .... คน อายุเฉลี่ย ...... ปัจจัยภายนอก-ภายใน วิสัยทัศน์ ค่านิยม วัฒธรรมองค์การ เป้าประสงค์ หมวด 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ แผนบริหารความเสี่ยง ฯลฯ ความท้าทาย วัดผลลัพธ์หมวด 7 หมวด 3 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม หมวด 4 Link หมวด 1 กำหนดทิศทาง 2 ทำแผน 4 ฐานข้อมูล 5 , 6 มาตรฐานปฏิบัติงาน หมวด 6 กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน Link หมวด 1 พันธกิจ ยุทธศาสตร์ 2 ตัวชี้วัด 3 ความต้องการของผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม 4 ฐานข้อมูล 5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ BCM/BCP เตรียมพร้อมทรัพยากร (คน IT สถานที่ อุปกรณ์) ให้งานต่อเนื่อง KM
หลักในการตรวจสอบตนเองหลักในการตรวจสอบตนเอง 2. วิเคราะห์ระบบงานขององค์การ • กระบวนการทำงานที่ดีและเป็นระบบ • มีการถ่ายทอดและนำไปปฏิบัติ • มีการติดตามประเมินผล • มีการพัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้นจนสามารถนำไปสู่นวัตกรรม • วิเคราะห์ผลลัพธ์ขององค์กรในด้านต่าง ๆ ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง • บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ • มีผลลัพธ์ที่ดีขึ้นในแต่ละปี • ดีกว่าผลลัพธ์ขององค์การอื่น • เชื่อมโยงกับพันธกิจและยุทธศาสตร์ขององค์การ • วิเคราะห์และเข้าใจลักษณะพื้นฐานขององค์การ • บริบท พันธกิจหลัก วิสัยทัศน์ • กฏหมายที่กำกับและเกี่ยวข้อง • ปัจจัยภายใน • ปัจจัยภายนอก • การเปลี่ยนแปลงสำคัญที่กำลังเกิดขึ้น • ความท้าทาย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ประเด็นปัญหาสำคัญของการตรวจ Certified FL ที่พบบ่อย
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
ตัวอย่างประเด็นพิจารณาที่ผ่านการประเมิน Certified FL
Q & A 02 356 9942, 02 356 9999 # 8916, 8985, 8804 pmqa@opdc.go.th www.opdc.go.th www.opdc.go.th