1 / 75

“ แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน ”

“ แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน ”. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร. 10-13 มิถุนายน 2557. 1. การสุ่มตัวอย่าง และวิธีการเก็บข้อมูล. โดย นางดารณี ชนะชนม์ ผู้อำนวยการกลุ่มติดตามและประเมินผล. 2. วัตถุประสงค์. เพื่อศึกษารายได้ผลตอบแทนจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ

colt-hewitt
Télécharger la présentation

“ แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน”“แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน” การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร 10-13 มิถุนายน 2557 1

  2. การสุ่มตัวอย่างและวิธีการเก็บข้อมูล โดย นางดารณี ชนะชนม์ ผู้อำนวยการกลุ่มติดตามและประเมินผล 2

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารายได้ผลตอบแทนจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตามกรอบการใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ปี 2552-2555 ได้รับการอนุเคราะห์กรอบการใช้ที่ดินฯ โดยกลุ่มสารสนเทศภูมิศาสตร์ ศูนย์สารสนเทศ 3

  4. ประชากร Population หมายถึง ทุกหน่วยที่สนใจศึกษา ตัวอย่าง Sample หมายถึง บางส่วนของประชากร การสุ่มตัวอย่าง  ไม่ต้องเก็บทุกหน่วย ประหยัดเวลาค่าใช้จ่าย  เก็บข้อมูลจากตัวอย่างแล้วใช้ความรู้ทางสถิติเพื่ออ้างอิงถึงประชากร การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ ต้องมีกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) คือ รายชื่อของทุกๆ หน่วยในประชากรที่สนใจศึกษา 4

  5. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ  การสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sample Survey) การสุ่มตัวอย่าง ตัวแทนที่ดี หมายถึงตัวอย่างที่ถูกเลือกมาควรประกอบไปด้วยลักษณะต่างๆของประชากรครบถ้วน  การเก็บข้อมูลด้วยตัวอย่าง ผู้เก็บข้อมูลต้องเลือกวิธีการเลือกตัวอย่างให้เหมาะสมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพเนื่องจากต้องทำการวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่างเพื่ออ้างอิงถึงลักษณะของประชากร 5

  6. การเลือกตัวอย่างตามความน่าจะเป็น (Probability Sampling) การสุ่มตัวอย่าง - การเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย (Simple RandomSampling) โดยใช้การจับฉลาก ตารางเลขสุ่ม - การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ (SystematicSampling) โดยให้หมายเลขประชากร/เลือกหน่วยแรก/เลือกหน่วยถัดไปห่างจากหน่วยที่เพิ่งถูกเลือกเป็นช่วงเท่ากัน(k=N/n) จนครบขนาดตัวอย่างที่กำหนด 6

  7. - การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ประชากรที่สนใจศึกษาแตกต่างกันมาก ต้องแบ่งประชากรเป็นกลุ่ม เรียกว่า ชั้นภูมิ (stratum) ภายในชั้นภูมิเดียวกันมีลักษณะที่สนใจใกล้เคียงกัน ต่างชั้นภูมิมีความแตกต่างกัน ขนาดตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิอาจกำหนดทุกชั้นภูมิเท่ากัน หรือ เป็นสัดส่วนกับจำนวนหน่วยทั้งหมด การสุ่มตัวอย่าง 7

  8. วิธีการศึกษา  ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก. 4-01) ตั้งแต่ ปี 2518-2556 จำนวน 2.8 ล้านแปลง  กรอบการใช้ที่ดิน ปี 2552-2555 ในพื้นที่เป็นรายพืชตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงสุด 3 ลำดับ ของจังหวัด รวม 67 จังหวัด  กำหนดจำนวนแปลงตัวอย่างเป็นตัวแทนจังหวัดด้วยวิธีของ ทาโรยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 85 ได้จำนวนตัวอย่าง จังหวัดละ 44 แปลง  ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) ได้แก่ สุ่มจังหวัด สุ่มอำเภอ สุ่มตำบล และสุ่มแปลงเกษตรกรที่มีคุณสมบัติไม่ติดถนนใหญ่ และไม่เป็นที่ตาบอด 8

  9. วิธีการศึกษา สูตรของทาโร ยามาเน่ (Yamane) กรณีทราบขนาดของประชากร e คือ ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ 9

  10. วิธีการศึกษา ตัวอย่างคำนวณจำนวนแปลงตัวอย่างจังหวัดสระแก้ว จากสูตร จำนวนแปลงจังหวัดสระแก้ว (N) = 71,131 ความคลาดเคลื่อน (e) = .15 แทนค่า (เท่ากับ 44 แปลงทุกจังหวัด) สรุปให้จำนวนแปลงตัวอย่างเท่ากันทุกจังหวัด คือ 60+10 แปลง 10

  11. การสุ่มตัวอย่าง เขตปฏิรูปที่ดิน 70 70 จังหวัด 1 จังหวัด 59 1 59 จังหวัด 35 35 35 35 อำเภอ 11 อำเภอ 12 118 อำเภอ อำเภอ 591 อำเภอ 592 2 17 18 17 ตำบล 121 ตำบล 122 18 ตำบล 5921 ตำบล 5922 3 161 ตำบล 18 17 ตำบล 111 17 ตำบล 112 18 ตำบล 5911 ตำบล 5912 9 8 9 9 9 9 9 8 4,130 แปลง 4 8 9 9 9 8 9 9 9 11

  12. วิธีการศึกษา probability proportional to size ( PPS ) เป็นวิธีการเลือกหน่วยตัวอย่าง ตามขนาด (measure of size) โดยใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน หมายถึง การเลือกหน่วยตัวอย่างจํานวนn หน่วยจาก N หน่วยในประชากร โดยโอกาสหรือความน่าจะเป็นของ แต่ละหน่วยที่ถูกเลือกขึ้นมาเป็นตัวแทนในตัวอย่างสามารถคํานวณ ค่าได้ และมีค่าไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับหน่วยวัดขนาด 12

  13. วิธีการศึกษา • ตัวอย่างการสุ่มอำเภอในจังหวัดสระแก้ว กำหนด 2 อำเภอ • โดยวิธี probability proportional to size ( PPS ) มีพื้นที่ปลูกข้าวสูงสุด รองลงมาเป็น มันสำปะหลังและอ้อย • เรียงลำดับพื้นที่ปลูกข้าวของแต่ละอำเภอในจังหวัดสระแก้วตามขนาดจากน้อยไปมาก • คำนวณพื้นที่สะสมปลูกข้าวจากน้อยไปมาก • หาช่วงสุ่มตัวอย่างเท่ากับยอดรวมหาร 2 (n=2) • ช่วงสุ่มตัวอย่าง = 613,641/2 = 306,821 • 4. สุ่มตัวอย่างแรกระหว่างค่าน้อยสุด ถึง ค่า 306,821 • ในที่นี้ สุ่มได้อำเภอเขาฉกรรจ์ ค่าพื้นที่สะสม 180,254 • 5. ตัวอย่างที่สองเป็นค่า = 306,821+180,254=487,075 ได้อำเภอตาพระยา 13

  14. กรอบการใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ปี 2552-2555 จำแนกตามพืชหลัก แสดงตัวอย่างกรอบการใช้ที่ดินจำแนกตามพืชหลัก ของจังหวัดสระแก้ว 14

  15. 15

  16. 16

  17. 17

  18. 18

  19. 19

  20. 20

  21. ขั้นตอนที่ 1 สุ่มอำเภอ  กำหนดจำนวนอำเภอตัวอย่างจังหวัดละ 2 อำเภอ  สุ่มอำเภอตัวอย่างของจังหวัดเป้าหมายทุกจังหวัด รวม 59 จังหวัด โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size(PPS)ตามขนาด (measure of size:MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกอำเภอตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 118 อำเภอ แสดงตัวอย่างการสุ่มอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง ของจังหวัดสระแก้ว 21

  22. การสุ่มอำเภอ 22

  23. การสุ่มอำเภอ 23

  24. การสุ่มอำเภอ 24

  25. การสุ่มอำเภอ 25

  26. ขั้นตอนที่ 2 สุ่มตำบล  กำหนดจำนวนตำบลตัวอย่างเป็นร้อยละ 5 ของจำนวนตำบลทั้งหมดในจังหวัด ไม่ต่ำกว่า 2 ตำบลไม่เกิน 5 ตำบล  ให้จำนวนตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างเป็นตามสัดส่วนของจำนวนตำบลในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างกับตำบลทั้งหมดของอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง  สุ่มตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size ( PPS )ตามขนาด (measure of size : MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกตำบลตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 161 ตำบล 26

  27. กำหนดจำนวนตำบลตัวอย่างเป็นร้อยละ 5 ของจำนวนตำบลทั้งหมดในจังหวัด ไม่ต่ำกว่า 2 ตำบลไม่เกิน 5 ตำบล แสดงวิธีการคำนวณหาจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ของจังหวัดสระแก้ว จำนวนตำบลในจังหวัดสระแก้ว = 53ตำบล จำนวนตำบลตัวอย่าง =53 5% = 2.6 ~ 3 27

  28. แสดงจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่างแสดงจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ของทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด 28

  29. 29

  30. 30

  31. 31

  32. 32

  33. 33

  34. 34

  35. 35

  36. 36

  37. ให้จำนวนตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างเป็นตามสัดส่วนของจำนวนตำบลในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างกับตำบลทั้งหมดของอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง จำนวนตำบลตัวอย่างในจังหวัดสระแก้ว = 3 ตำบล จำนวนตำบลใน อ.เขาฉกรรจ์ =4 จำนวนตำบลใน อ.ตาพระยา =5 จำนวนตำบลตัวอย่างใน อ.พรานกระต่าย =34 /9 = 1.3 ~ 1 จำนวนตำบลตัวอย่างใน อ.เมือง =35 /9 = 1.7 ~ 2 37

  38. สุ่มตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size ( PPS )ตามขนาด (measure of size : MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกตำบลตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 161 ตำบล 38

  39. การสุ่มตำบล 39

  40. การสุ่มตำบล 40

  41. สรุปจำนวนราย/แปลง ที่ตกเป็นตัวอย่าง การเก็บข้อมูลพืชหลักทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด 1. หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 เกินครึ่งหนึ่งของ 3 พืช เก็บข้อมูลเฉพาะพืชลำดับที่ 1 2. แต่หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 เกินครึ่งหนึ่งของ 3 พืช และพืชลำดับ 2 เนื้อที่ปลูกใกล้เคียง ลำดับ 1 เก็บข้อมูลพืชเนื้อที่สูงสุด 2 พืช 3. หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 ไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ 3 พืช เก็บข้อมูลพืชเนื้อที่สูงสุด 2 พืช โดยกำหนด 41

  42. 42

  43. 43

  44. 44

  45. 45

  46. 46

  47. 47

  48. 48

  49. 49

  50. สรุปจำนวนราย/แปลง ที่ตกเป็นตัวอย่าง จำแนกตามการเก็บข้อมูลเป็นรายพืช ทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด รายตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ได้จำนวนตัวอย่าง 4,130 แปลง 50

More Related