1 / 25

ประวัติวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ และ ปัจจัยแวดล้อมที่ทำให้เกิดวรรณคดี

ประวัติวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ และ ปัจจัยแวดล้อมที่ทำให้เกิดวรรณคดี.

Télécharger la présentation

ประวัติวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ และ ปัจจัยแวดล้อมที่ทำให้เกิดวรรณคดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประวัติวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ประวัติวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ และ ปัจจัยแวดล้อมที่ทำให้เกิดวรรณคดี

  2. ภาพรวมของวรรณคดีรัตนโกสินทร์ยุคฟื้นฟูยุครัชกาลที่ 1 รวบรวมวรรณคดีที่พลัดพรายจากการเสียกรุงครั้งที่ 2 ยุคทองยุครัชกาลที่ 2 ศิลปวัฒนธรรมเจริญสูงสุดวรรณคดีสำคัญเกิดขึ้นหลายเล่ม ยุครัชกาลที่ 3 รับอิทธิพลตะวันตกเข้ามาบ้าง ยุครัชกาลที่ 4 วรรณคดีร้อยแก้วเริ่มเป็นที่นิยม

  3. ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อยุครัชกาลที่ 5 เป็นยุคหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างวรรณคดีโบราณกับปัจจุบัน เรื่องสั้น นวนิยาย ซึ่งเป็นรูปแบบของตะวันตกเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ยุครัชกาลที่ 6 ร้อยแก้วเบ่งบานสูงสุด โดยเฉพาะบทความผ่านสื่อมวลชนและบทความปลุกใจให้รักชาติ มีนักเขียนเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากเพราะรัชกาลที่ 6 ท่านทรงเป็นนักเขียน

  4. ยุคปัจจุบันตั้งแต่ พ.ศ. 2469 ถึง ปัจจุบัน ร้อยแก้วเป็นที่นิยมสูงสุด ร้อยกรองไม่เป็นที่นิยมมากนัก วรรณกรรมร้อยแก้วได้รับอิทธิพล จากตะวันตกมากขึ้น

  5. ประวัติวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 1 (พ.ศ.2324-2352) เป็นช่วงแห่งการ “สร้างบ้านแปงเมือง” วางรากฐาน การปกครอง จัดระเบียบศาสนา ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมวรรณคดีแบ่งเป็น 3 ประเภท วรรณคดีที่เกี่ยวข้องกับศาสนา วรรณคดีที่เกี่ยวข้องกับการเมือง วรรณคดีที่เน้นความบันเทิง

  6. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 1 รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลัง อิเหนา นิทานอิหร่านราชธรรม กลอนรบพม่าที่ท่าดินแดง เจ้าพระยาพระคลัง(หน) ราชาธิราช สามก๊ก กากีคำกลอนลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง มหาเวสสันดรชาดก(กุมาร/มัทรี) พระเทพโมลี(กลิ่น) มหาเวสสันดรชาดก(มหาพน) มหาราชคำหลวง

  7. พระยาธรรมปรีชา ไตรภูมิโลกวินิจฉัย กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท เพลงยาวนิราศเสด็จไปตีเมืองพม่า กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ไซ่ฮั่น(แปล)

  8. ประวัติวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 2 (พ.ศ.2352-2367) บ้านเมืองสงบสุขร่มเย็น เป็นยุคทองของวรรณคดี มีทั้ง โคลง กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต มีวรรณคดีไพเราะเกิดขึ้นหลายเรื่อง กลอนยังเป็นที่นิยมสูงสุดวรรณคดีมีทั้ง วรรณคดีศาสนา ยอพระเกียรติและวรรณคดีการแสดง

  9. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 2 ขุนช้างขุนแผน อิเหนา รามเกียรติ์ ไชยเชษฐ์ ไกรทอง มณีพิชัย สังข์ทอง คาวี กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน สุนทรภู่ พระอภัยมณี โคบุตร ลักษณวงศ์ สิงหไตรภพ กาพย์พระไชยสุริยา นิราศเมืองแกลง นิราศวัดเจ้าฟ้า นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ สวัสดิรักษา เพลงยาวถวายโอวาท

  10. พระยาตรัง โคลงนิราศตามเสด็จลำน้ำน้อย นายนรินทรธิเบศร์ โคลงนิราศนรินทร์

  11. ประวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2367-2394) เป็นแผ่นดินที่สงบสุข มั่นคง มั่งคั่ง พระมหากษัตริย์ทรงเชี่ยวชาญการกวี ทรงสนพระทัยในการปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม โปรดเกล้าฯให้จารึกศิลปวิทยาการไว้ที่วัดเพื่อเป็นแหล่งความรู้ของประชาชน วัดพระเชตุพนฯ มีการพิมพ์หนังสือเป็นครั้งแรก บางกอกรีคอร์เดอร์

  12. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 3 โคลงปราบดาภิเษก สังข์ศิลป์ชัย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสลิลิตตะเลงพ่าย พระปฐมสมโพธิกถา สมุทรโฆษคำฉันท์ กฤษณาสอนน้องคำฉันท์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร โคลงโลกนิติ

  13. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท โคลงจินดามณี พระมหามนตรี(ทรัพย์) ระเด่นรันได คุณสุวรรณ อุณรุธร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ พระเทพโมลี (ผึ้ง) แบบเรียนปฐมมาลา นายมี (หมื่นพรหมสมพัตสร) นิราศเดือน

  14. ประวัติวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 4 (พ.ศ.2394-2411) เป็นยุคปฏิรูปพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมนานาประเทศ ทรงวางรากฐานพัฒนาการศึกษา พระบรมวงศานุวงศ์เรียนภาษาอังกฤษ ยกเลิกขนบธรรมเนียมประเพณีล้าสมัย ร้อยแก้วเป็นที่นิยมมากขึ้น ตั้งโรงพิมพ์เพื่อออกหนังสือพิมพ์ของทางราชการ (ราชกิจจานุเบกษา) มีการซื้อขายลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก

  15. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 4 ประกาศพระบรมราชาธิบาย รามเกียรติ์(บางตอน) หม่อมเจ้าอิศริญาณ ภาษิตอิศริญาณ หม่อมราโชทัย นิราศลอนดอน หลวงจักรปาณี(มหาฤกษ์)นิราศพระปฐม นิราศกรุงเก่า นิราศทวารวดี นิราศพระปถวีพระยาอิศรานุภาพ(จีน)นิราศพระพิพิธสาลีไปชุมพรและไชยา สุธนคำฉันท์ สุทธนูคำฉันท์ อุเทนคำฉันท์

  16. ประวัติวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) เป็นยุคหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างวรรณคดีโบราณกับปัจจุบัน นำการเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายมาใช้ นิยมร้อยแก้วมากกว่าร้อยกรอง มีการออก นสพ. และ นิตยสารถึง 52 ฉบับ จัดตั้งหอสมุดและโบราณคดีสโมสร เพื่อรวบรวมวรรณคดี มีการแปลวรรณคดีต่างประเทศมาเป็นภาษาไทย

  17. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 5 พระราชพิธีสิบสองเดือน ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต บทละครเรื่องเงาะป่า พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แบบเรียนภาษาไทย พรรณพฤกษาและสัตวาภิธาน คำนมัสการคุณานุคุณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์โคลงลิลิตมหามกุฎราชคุณานุสรณ์ บทละครเรื่องสาวเครือฟ้า

  18. พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ลิลิตสรรเสริญพระบารมี สนุกนิ์นึก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ สาส์นสมเด็จ กาพย์เห่เรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พงศาวดารไทยรบพม่า เทียนวรรณ ศิริพจนภาคและตุลวิภาคพจนกิจ

  19. ประวัติวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2453-2468) การศึกษาเจริญมาก ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา วรรณคดีได้รูปแบบมาจากตะวันตก ร้อยแก้วเจริญรุ่งเรืองมาก จัดตั้งวรรณคดีสโมสร วรรณคดีการละคร ละครร้อง ละครพูด เจริญมากและเป็นวรรณคดีปลุกใจให้รักชาติ

  20. วรรณคดีและกวีสำคัญ รัชกาลที่ 6 มัทนะพาธา พระนลคำหลวง ลิลิตนารายณ์สิบปาง หัวใจนักรบ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ นิทานโบราณคดี เสด็จประพาสต้น พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) กนกนคร สามกรุง นิทานเวตาล จดหมายจางวางหร่ำ พระนลคำฉันท์

  21. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี โคลงกลอนของครูเทพ พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ์) อิลราชคำฉันท์ พระยาอนุมานราชธน (เสฐียรโกเศศ) และ พระสารประเสริฐ (นาคะประทีป) กามนิต หิโตประเทศ พระยาสุรินทรราชา (แม่วัน) ความพยาบาท ชิต บุรทัต สามัคคีเภทคำฉันท์

  22. วรรณคดียอดเยี่ยม ในสมัยรัชกาลที่ 6 ลิลิต - ลิลิตพระลอ ฉันท์ - สมุทรโฆษคำฉันท์ ร่ายยาว - มหาเวสสันดรชาดก กลอนสุภาพ - เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน บทละครรำ - เรื่องอิเหนา (ร.2) บทละครพูด - หัวใจนักรบ (ร.6) ความเรียงนิทาน - สามก๊ก (เจ้าพระยาพระคลัง) ความเรียงอธิบาย - พระราชพิธีสิบสองเดือน (ร.5)

  23. ประวัติวรรณคดีสมัยหลังรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2469 – ปัจจุบัน) ความเจริญทางการศึกษาได้สร้างนักอ่าน นักเขียน มาก นักเขียนกลายเป็นอาชีพ มีการจัดการประกวดการแต่งหนังสือมากขึ้น เกิดการประกวดวรรณกรรมสร้างสรรค์แห่งอาเซียน (ซีไรท์ S.E.A.Write )

  24. วรรณคดีและกวีสำคัญ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สี่แผ่นดิน ไผ่แดง นายก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา (ไม้เมืองเดิม) แผลเก่า ขุนศึก นายกุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) ข้างหลังภาพ ม.ล.บุปผา นิมมานเหมินทร์ (ดอกไม้สด) ผู้ดี กรรมเก่า หนึ่งในร้อย นายโชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) ผู้ชนะสิบทิศ

  25. มาลัย ชูพินิจ (แม่อนงค์ เรียมเอง น้อย อินทนนท์) ล่องไพร ทุ่งมหาราช กฤษณา อโศกสิน (สุกัญญา ชลศึกษ์) เรือมนุษย์ ฝันกลางฤดูฝน น้ำเซาะทราย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ เพียงความเคลื่อนไหว

More Related