1 / 52

นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

การขับเคลื่อน ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น. นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน. ประเด็นนำเสนอ. 1. 2. 3. 4. 5. 6. นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง. กรอบการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.

cullen-head
Télécharger la présentation

นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อน ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

  2. ประเด็นนำเสนอ 1 2 3 4 5 6

  3. นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง

  4. กรอบการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกรอบการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  5. เป้าหมายของยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง New Growth ModelGoalsin 10 – 15 years (พ.ศ. 2565-2570) Growth & Competitiveness • รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็น 12,400 $ ต่อปี (Gross national income: GNI) - ปี 2554 อยู่ที่ 4,440 $ ต่อปี (Higher-incomeCountry ต้องมีรายได้มากกว่า 12,275 $ ต่อปี) • อัตราการขยายตัวของ GDP อยู่ที่ร้อยละ 5.0 - 6.0 ต่อปี - เฉลี่ยปี 2545 - 2554 อยู่ที่ร้อยละ 4.2 • เพิ่มการลงทุนด้าน R&D ให้มากกว่าร้อยละ 1 ต่อ GDP - ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 0.24 ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Inclusive Growth • GINIcoefficient ปรับลดลงเหลือ 0.40 หรือน้อยกว่า - ปี 2554 อยู่ที่ 0.476 • เพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้มากกว่าร้อยละ 40 ต่อ GDP- ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 36.6 (3.86 ล้านล้านบาท) • ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 15 ปี และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 100 - ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 8.2 ปี (2554) และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 93.10 (2548) Green Growth • ลดการปล่อย GHG (Greenhouse Gas: ก๊าซเรือนกระจก) ในภาคพลังงาน ให้ต่ำกว่า 4 ตัน/คน/ปี - ปี 2553 อยู่ที่ 3.3 ตัน/คน/ปี และจากการศึกษาคาดว่าในอีก 10 ปี จะเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 5 ตัน/คน/ปี (การปล่อย GHG ของภาคพลังงานคิดเป็นร้อยละ 70 ของประเทศ) • เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด (128 ล้านไร่) - ปี 2552 อยู่ที่ร้อยละ 33.6 (107 ล้านไร่)

  6. Thailand - GNI per capita พ.ศ. 2570 รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็น 12,400 $ ต่อปี ที่มา:World Bank national accounts data, and OECD National Accounts data files. gross national income (GNI) per capita is the gross national income, converted to U.S. dollars using the World Bank Atlas method, divided by the midyear population. GNI is the sum of value added by all resident producers plus any product taxes (less subsidies) not included in the valuation of output plus net receipts of primary income (compensation of employees and property income) from abroad. GNI, calculated in national currency, is usually converted to U.S. dollars at official exchange rates for comparisons across economies, although an alternative rate is used when the official exchange rate is judged to diverge by an exceptionally large margin from the rate actually applied in international transactions. To smooth fluctuations in prices and exchange rates, a special Atlas method of conversion is used by the World Bank.

  7. การสร้างความสามารถในการแข่งขันให้หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลางGrowth & Competitiveness พัฒนาระบบโลจิสติกส์ โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน ICT เพื่อเชื่อมโยงทั้งภายในและต่างประเทศ การจัดการใช้ที่ดินของประเทศและการโซนนิ่ง เศรษฐกิจขยายตัว รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น พัฒนาอุตสาหกรรมและรักษามาตรฐานอุตสาหกรรมและบริการเดิม เพิ่มความสำคัญงานวิจัย และลดงานวิจัยซ้ำซ้อน เพิ่มขีดความสามารถ SMEs & OTOP

  8. การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจInclusive Growth กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ประชากรยากจนของประเทศรายพื้นที่ กระจายรายได้สู่ประชาชนฐานรากอย่างเป็นระบบ สร้างชุมชนต้นแบบด้านการพัฒนารายได้อย่างยั่งยืน ลดความยากจน กระจายรายได้ ลด GAP คนรวยและคนจน สร้างจิตสำนึกด้านการช่วยเหลือตนเอง “หลุดพ้นจากวงจรความยากจน”

  9. ต้นเหตุของความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยต้นเหตุของความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย • มาตรการทางการคลังที่ไม่เป็นธรรมและขาดนโยบายลดความเหลื่อมล้ำที่เป็นรูปธรรม • ช่องว่างรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวยห่างกันมากขึ้น • ไม่ได้มีการสร้างโอกาสแก่คนฐานล่าง และใช้นโยบายพัฒนาใหม่ ที่ไม่ใช่การเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวเป็นตัวชี้วัดเช่น การจัดสวัสดิการถ้วนหน้า การแบ่งสรรความรับผิดชอบด้านค่าใช้จ่ายตามกลุ่มรายได้ โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา โอกาสเข้าถึงงานที่ดีมีความมั่นคง เป็นต้น

  10. แนวทางการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมถ้วนหน้าแนวทางการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมถ้วนหน้า • การกระจายรายได้ไปยังกลุ่มประเทศที่ด้อยโอกาส(มากกว่า) เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของคนในสังคม • รัฐสวัสดิการและประชานิยม ที่ภาครัฐจัดหาจะต้องควบคู่กับการสร้างรายได้ที่ยั่งยืน • การกระจายรายได้ ภายใต้ระบบภาษีจะต้องพอเพียงต่อการจัดสวัสดิการแก่ประชาชนได้ยั่งยืน • การแบ่งสรรความรับผิดชอบด้านภาษีของกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเศรษฐกิจต้องมีความเป็นธรรมและเกื้อกูลกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส

  11. เงื่อนไขการลดความเหลื่อมล้ำเงื่อนไขการลดความเหลื่อมล้ำ • เศรษฐกิจต้องเติบโตด้วยอัตราพอสมควร และเติบโตแบบทั่วถึง (inclusive growth) เอกชนต้องมีส่วนร่วมในโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน • ปฏิรูปภาษี โดยเน้นการขยายฐานภาษี และปรับลด-ยกเลิกสิทธิพิเศษด้านภาษี • ภาคธุรกิจ-ท้องถิ่น-ชุมชน-ครอบครัว ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการสวัสดิการบางประเภทที่รัฐส่วนกลางจัดการไม่ได้ • ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองที่เอื้อต่อการเกิดสวัสดิการ แต่ไม่ได้ประกันว่าจะเกิด “สวัสดิการที่เหมาะสม”ดังนั้นต้องระมัดระวังการออกนโยบายสวัสดิการที่ให้แล้วเอาคืนไม่ได้ • ต้องมีองค์กรทำหน้าที่กำกับดูแล (regulator) ให้เกิดหลักประกันด้านสวัสดิการที่เท่าเทียมและยั่งยืน ตัดทอนรายจ่ายที่ไม่จำเป็น (ที่มา : TDRI)

  12. การสร้างโอกาสแก่คนฐานล่างการสร้างโอกาสแก่คนฐานล่าง • การแยกแยะกลุ่มด้อยโอกาสให้ชัดเจน โดยแบ่งเป็นกลุ่มใช้แรงงาน กลุ่มภาคเกษตร, กลุ่มธุรกิจขนาดเล็ก, กลุ่มช่วยเหลือตนเองไม่ได้แบบถาวร ให้โอกาสคนฐานล่างเข้าถึงทรัพยากร และใช้ทรัพยากรชนิดต่างๆ • มีกลไกให้กลุ่มชนด้อยโอกาสสามารถพัฒนาตัวเอง และรายได้ขึ้นเป็นคนชั้นกลาง • สร้างโอกาสให้ประชาชนฐานรากเข้าถึงการศึกษา เข้าถึงงานที่ดีมีความมั่นคง โอกาสทำธุรกิจขนาดเล็กและกลาง รวมถึงการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะที่ดินทำกิน

  13. การลดความเหลื่อมล้ำยังไม่ประสบความสำเร็จการลดความเหลื่อมล้ำยังไม่ประสบความสำเร็จ • คนฐานล่างยังเข้าไม่ถึงความช่วยเหลือของรัฐ แต่คนที่ได้รับความช่วยเหลือจริงๆ กลับไม่ใช่กลุ่มคนที่ควรจะได้ เช่น ที่ดิน สปก. กลับตกอยู่ในมือคนรวย หรือ การงดเว้นภาษีของ BOI กลับตกไปไม่ถึงธุรกิจขนาดเล็ก • นโยบายสร้างโอกาสหลายข้อมีหลักเกณฑ์หละหลวม จนกลายเป็นผลเสียต่อกระบวนการเสียเอง เช่น สินเชื่อพิเศษ SME ส่วนใหญ่กลายเป็นหนี้เสีย • “คุณภาพ” ของความช่วยเหลือยังไม่ดีพอ เช่น ที่ดินที่จัดสรรให้กลับไม่เหมาะต่อการเกษตร หรือ คุณภาพการศึกษาในชนบทยังแย่ • การช่วยเหลือจากรัฐไม่ได้แก้ต้นตอของปัญหา เช่น ข้อจำกัดของกฎหมายการเช่าที่ดินและการเก็งกำไรที่ดิน ทำให้ที่ดินจำนวนมากยังไม่ถูกใช้ประโยชน์ให้เหมาะกับสภาพที่ดิน • อาชีพที่ดี มีความมั่นคง บางอาชีพยังเป็นอาชีพสงวนไว้เฉพาะผู้มีการศึกษาสูงเท่านั้น ส่วนงานแรงงานอิสระ และภาคเกษตร ยังเป็นงานหนัก ค่าจ้างต่ำ ไม่ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายแรงงาน • กลไกและกระบวนการของรัฐเองที่ยังขาดความยุติธรรม • หลักการตีความที่ยึดติดกับตัวบทกฎหมายและผลประโยชน์ของหน่วยงานรัฐ แต่ไม่สนใจประโยชน์ของชาวบ้าน ในขณะเดียวกันกลับปล่อยให้ผู้มีอิทธิพลเข้าถึงโอกาส

  14. เป้าหมายการขยายฐานการลดความเหลื่อมล้ำ พ.ศ. 2570 ที่มา: แผนยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)

  15. นโยบาย และยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทยยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดกรมการพัฒนาชุมชน

  16. วิสัยทัศน์กระทรวงมหาดไทยวิสัยทัศน์กระทรวงมหาดไทย "เป็นกระทรวงหลักในการบริหารจัดการและบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุขประชาชน"

  17. กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทยกรอบยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย

  18. พันธกิจกระทรวงมหาดไทยพันธกิจกระทรวงมหาดไทย

  19. จุดยืนของยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทยจุดยืนของยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย

  20. ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมของกระทรวงมหาดไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth Competitiveness) ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การลดความเหลื่อมล้ำ (Inclusive Growth) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความสมดุล และปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Internal Process) ๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการคุ้มครองทางสังคม ๑. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของสินค้า บริการ การค้า และ การลงทุน ๓. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ โลจิสติกส์ ๔. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๕. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ ๖. การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึงการเป็นประชาคม อาเซียน ๗. การเสริมสร้างความมั่นคง ๘. การเพิ่มศักยภาพ ของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสอาเซียน ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน วิสัยทัศน์ : กระทรวงมหาดไทยพร้อมเข้าร่วมประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ Core Function Human Capital Internal Process Connectivity ยุทธศาสตร์ ๑ การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจฐานรากเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากประชาคอาเซียน ยุทธศาสตร์ ๒ การเสริมสร้างความสงบเรียบร้อย ภัยพิบัติและความมั่นคงของประเทศ ยุทธศาสตร์ ๓ การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนและอัตลักษณ์อาเซียน ยุทธศาสตร์ ๔ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ ๕ การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน OTOP OVC กองทุนในชุมชน รายได้ทั้งประเทศเพิ่มขึ้น กองทุนแม่ของแผ่นดิน แก้ไขปัญหาความยากจน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาผู้นำชุมชน พัฒนาบุคลากร พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ

  21. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2555-2559 วิสัยทัศน์ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง กลไกการพัฒนา มีศักยภาพและ ขีดความสามารถ จัดการตนเองได้ การบริหารจัดการชุมชน เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ • เศรษฐกิจพอเพียง • ทุนชุมชน • มุ่งอนาคตร่วมกัน • พึ่งตนเอง • องค์กรบริหารการพัฒนา • แผนชุมชน • ข้อมูลเพื่อการพัฒนา ปรับตัวทันการเปลี่ยนแปลง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข • ผู้นำชุมชน • อาสาสมัคร • กลุ่ม/องค์กร • เครือข่าย เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองได้ KM, R&D, HRD, HRM, IT, Org.Cul., Marketing, Supporting

  22. แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙

  23. -โครงสร้างพื้นฐาน -ผลิตภาพ -วิจัยและพัฒนา ๑.OTOP ๒.หมู่บ้าน OVC ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ประเทศ กับ ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ๓.แก้ไขปัญหาความยากจนแบบูรณาการ ๔.รายได้ครัวเรือน (ทั่วประเทศ) เพิ่มขึ้น ๑.ให้ความรู้อาเซียน ๒.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ๑.หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กำลังคน งบประมาณ ๒.พัฒนาผู้นำชุมชน,กลุ่ม,เครือข่าย ๓.กองทุนแม่ของแผ่นดิน -กฎระเบียบ -จิตสำนึก ๔.กองทุนสตรี,กทบ,กองทุนชุมชน ระบบงาน -ประชาชน -คุณภาพชีวิต -ความรู้ -ยุติธรรม

  24. ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) (แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๑.๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนสินเชื่อรายย่อย ๑.๑๐.๑ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ ๑ ล้านบาท ๑.๑๐.๒ จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ล้านบาท ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๑ การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๑.๑๓.๒ บริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ ๓.ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๔.๕.๔ สนับสนุนบทบาทของสตรีไทยในการมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเสมอภาค ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ๘.๑.๒ เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ๕.เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ๘.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ

  25. ความเชื่อมโยงนโยบายกระทรวงมหาดไทยกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ภารกิจสำคัญของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๑. สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติในระดับพื้นที่ ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยพลังแผ่นดิน ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๖. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน และสนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงในพื้นที่ ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๗. ยกระดับสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และเพิ่มช่องทางการตลาดเชิงรุกทั้งภายประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน ๓.ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๑๒. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินในทุกระดับ ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน

  26. นโยบายด้านการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ขยายโอกาส

  27. แผนงานโครงการ/กิจกรรม เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาสตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ขยายโอกาส

  28. ความเป็นมาของตัวชี้วัด 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น

  29. มติเกี่ยวกับตัวชี้วัด 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น

  30. การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. (ในเขตเมือง และชนบท) ปี ๒๕๕๗ • จัดประชุมชี้แจงการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ให้แก่ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ กรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน หรืออาสาสมัคร ในเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556 • จัดอบรมวิธีการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ให้แก่ผู้จัดเก็บ ในเดือนธันวาคม 2556 - มกราคม 2557 • จัดเก็บข้อมูล จปฐ. รายครัวเรือน โดยผู้นำชุมชน อาสาสมัคร และเจ้าหน้าที่เทศบาลฯ หรือจ้างบุคคลจัดเก็บ ในเดือนมกราคม - มีนาคม 2557 • บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. เขตเมือง/ชนบท ในเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2557 • ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล จปฐ. ในเดือนมกราคม - เมษายน 2557 • นำข้อมูลเสนอให้คณะกรรมการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และส่งถึงส่วนกลางภายในเดือนเมษายน 2557

  31. 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น • เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง ของกระทรวงมหาดไทย • หน่วยรับผิดชอบหลัก สนผ.สป. และกรมการพัฒนาชุมชน • หน่วยสนับสนุน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และกรมการปกครอง ฐานข้อมูลการดำเนินงาน ฐานข้อมูลรายได้ครัวเรือนทั้งประเทศปี 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งมีรายได้เฉลี่ย/คน/ปี เท่ากับ 69,708 บาท เป้าหมายการดำเนินงาน ค่าคะแนนระดับ 3 เท่ากับ +10 % และช่วงปรับคะแนนเท่ากับ +/- 2.5

  32. ภารกิจของหน่วยงานต่างๆ ดังนี้

  33. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ 1.ลดรายจ่าย 2.เพิ่มรายได้ 3.ขยายโอกาส

  34. 1. การวิเคราะห์ฐานข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2556 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีจากข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2556 เทียบกับระดับเป้าหมายที่กลุ่มจังหวัดต้องดำเนินการ

  35. รายชื่อจังหวัดที่มีค่าคะแนนตามตัวชี้วัดต่ำกว่าระดับ 1 จังหวัดที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี ตามข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2556 เทียบกับค่าเป้าหมาย ตามตัวชี้วัด ยังมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีน้อยกว่าระดับ 1 จำนวน 26 จังหวัด

  36. ประมาณการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. พ.ศ. ๒๕๕๗ เขตชนบท ข้อมูล จปฐ. ที่จะจัดเก็บใน พ.ศ. 2557 คาดว่าจะมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี ประมาณ 72,698 บาท โดยพิจารณาจากอัตราก้าวหน้าของข้อมูล ในช่วง พ.ศ. 2555-2556 ข้อมูลรายได้จาก จปฐ ข้อมูลรายได้ ปี 2554 จาก สนง.สถิติแห่งชาติ 2556 2557 2555 • ทำใมต้องเป็นข้อมูล จปฐ. • จปฐ. ปี 2555 – 2556 ใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบความก้าวหน้ารายจังหวัด • จปฐ. ปี 2557 เป็นข้อมูลที่ใช้วัดผลการเพิ่มขึ้นของรายได้ครัวเรือนทั้งประเทศ • ข้อมูล จปฐ. จัดเก็บทุกปี จึงวัดความต่อเนื่องได้ดีกว่าข้อมูลอื่นในปัจจุบัน

  37. ประมาณการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2557 เป้าหมายตัวชี้วัด ระดับ 5 จปฐ. เขตชนบท จปฐ. เขตเมือง การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี พ.ศ. 2557 คาดว่าเขตชนบทจะมีรายได้เฉลี่ย 72,698 บาท ดังนั้นต้องส่งเสริมให้เขตเมืองจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ให้ได้ 87,630 บาท จึงจะมีรายได้เฉลี่ย 80,164 บาท ตามเป้าหมายที่ระดับ 5

  38. 2. แจ้งหน่วยงานดำเนินการ หนังสือ ที่ มท 0211.3/5644-6, ว1976 วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 1) ให้ ผวจ. กำกับดูแลการขับเคลื่อนตัวชี้วัด และถือเป็นภารกิจสำคัญของจังหวัดที่ต้องเน้นย้ำในการประชุมประจำเดือนทุกครั้ง 2) ให้ สพจ. เป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการขับเคลื่อนตัวชี้วัดในพื้นที่ 3) ให้ พช. เร่งดำเนินการจัดเก็บข้อมูลรายได้ครัวเรือนในเขตชนบท และสนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลรายได้ครัวเรือนในเขตเมือง 4) ให้ สถ. กำชับ อปท. ดำเนินการจัดเก็บ จปฐ. ในเขตเมืองทั้งหมด 5) ให้ พช. สถ. ปค. ตรวจสอบข้อมูลโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาสให้กับประชาชนและเร่งรัดการดำเนินงานโครงการโดยเร็ว 6) ให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินงาน โดยให้ พช. รวบรวม ประมาลผลเสนอกระทรวงมหาดไทย 2 ครั้ง คือ 28 มิถุนายน 2556 และ 30 กันยายน 2556

  39. 3. จัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ค้นหา แนวทางการดำเนินงาน • วันที่ 27 มิถุนายน 2556 • โรงแรมเอบีน่า เฮาส์ • กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทน สพจ. ทุกจังหวัด ความคิดเห็นที่ประมวลแล้ว ดังนี้

  40. 1. กระทรวงฯ ควรจัดเวทีสร้างความเข้าใจ และทำ MOU ร่วมกับกระทรวงอื่น โดยกำหนดบทบาทของแต่ละกระทรวงให้ชัดเจน 2. ควรจัดเก็บข้อมูลเขตเมืองเต็มรูปแบบ และพิจารณาความซ้ำซ้อนด้วย 3. ควรให้หน่วยงานต้นสังกัดแจ้งหน่วยงานระดับจังหวัด และหน่วยปฏิบัติของตนเองในพื้นที่ รายงานข้อมูลอย่างรวดเร็ว ทุกหน่วยงาน 4. ควรให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ตามงานจากผู้ว่าฯ เป็นประจำอย่างต่อเนื่องทุกเดือน จึงจะเกิดผลลัพธ์แท้จริง 5. ควรให้ผู้ว่าราชการจังหวัดดำเนินการอย่างจริงจัง และแจงตัวชี้วัดให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน โดยให้เน้นย้ำว่านี่เป็นนโยบายของรัฐบาล 6. ต้องทำให้เป็นภารกิจโดยตรงของกระทรวงไม่ใช่ลักษณะการฝากงาน 7. ควรกำหนดให้การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เขตเมือง เป็นตัวชี้วัดของ สถ. ในการจัดเก็บให้ได้ตามเป้าหมาย 8. ควรทำความเข้าใจ พจ. และ สถ. ว่าต้องขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างไร

  41. 4. โครงการยกระดับรายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น • เป็นโครงการที่กรมการพัฒนาชุมชนจัดทำขึ้นเพื่อให้คณะกรรมการขับเคลื่อนกิจกรรม และหน่วยปฏิบัติการ สามารถขับเคลื่อนตัวชี้วัดที่ 1.1.6 ให้บรรลุเป้าหมาย โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่ของคณะกรรมการ หรือสนับสนุนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และ การบริหารการจัดเก็บข้อมูลตามความเหมาะสม • ผลการดำเนินงานกิจกรรมสำคัญ ดังนี้

  42. ผลการดำเนินงานงานกิจกรรมตามโครงการผลการดำเนินงานงานกิจกรรมตามโครงการ • มีคำสั่งคณะกรรมการยกระดับรายได้ครัวเรือนเพิ่มขึ้นของจังหวัด เป็นกลไกขับเคลื่อนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และกลไกบริหารการจัดเก็บข้อมูล • คณะกรรมการ คณะทำงาน คณะติดตามประเมินผล และหน่วยปฏิบัติการ มีความเข้าใจเป้าหมายของการดำเนินงานในทิศทางเดียวกัน • มีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และบริหารการจัดเก็บข้อมูลรายได้ของจังหวัดอย่างต่อเนื่อง • มีกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส การบริหารการจัดเก็บข้อมูล และการติดตามประเมินผล ตามความเหมาะสม

  43. แผนงานที่จะดำเนินการต่อไปแผนงานที่จะดำเนินการต่อไป

  44. แผนขับเคลื่อนตัวชี้วัด 1.1.6 1. สิงหาคม – ธันวาคม 2556 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือคณะกรรมการขับเคลื่อนตัวชี้วัด กำชับ ติดตาม ส่งเสริม และสนับสนุนกิจกรรม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส ตามนโยบายของรัฐบาล โดยให้ทุกหน่วยงานดำเนินการอย่างจริงจัง ดังนี้

  45. แผนงานโครงการ/กิจกรรม เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาสตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ขยายโอกาส

  46. แผนงานโครงการ/กิจกรรม เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาสตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ขยายโอกาส

  47. แผนขับเคลื่อนตัวชี้วัด 1.1.6 2. กันยายน – ตุลาคม 2556 ให้เร่งรายงานผลการดำเนินงานภายในวันที่ 30 กันยายน 2556 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0211.3/ว1976 วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 และจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ตามหนังสือกรมการพัฒนาชุมชน ที่ มท 0404.2/ว1201 วันที่ 15 กรกฎาคม 2556 3. ตุลาคม – ธันวาคม 2556 ให้เร่งเตรียมการวางแผนการจัดเก็บข้อมูล ทั้งเขตชนบท และเขตเมืองโดยเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร แบบสอบถาม งบประมาณ การบันทึกข้อมูล และเตรียมการแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นในช่วงดำเนินการ

More Related