1 / 47

การพัฒนาทักษะทางกายและใจในผู้สูงอายุ

การพัฒนาทักษะทางกายและใจในผู้สูงอายุ. ศรีเกษ ธัญญาวินิชกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. ความหมาย. ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป

dacey-buck
Télécharger la présentation

การพัฒนาทักษะทางกายและใจในผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาทักษะทางกายและใจในผู้สูงอายุการพัฒนาทักษะทางกายและใจในผู้สูงอายุ ศรีเกษ ธัญญาวินิชกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

  2. ความหมาย • ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป • ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง หมายถึง ผู้สูงอายุที่ผ่านกระบวนการประเมิน คัดกรองสุขภาพ พบว่ามีความผิดปกติด้านร่างกายหรือจิตใจ รวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง • ผู้พิการ หมายถึง ผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือจิตใจ มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ประจำวัน หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ( เกณฑ์ผู้พิการ)

  3. ผู้สูงอายุ ผู้พิการได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ • หมายถึง ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สามารถจัดการสุขภาพตนเองได้ หรือมีผู้ดูแล และมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชนตามความรู้ ความสามารถและศักยภาพของบุคคล

  4. ขั้นตอนการดำเนินงาน ๑. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในชุมชน และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานระดับตำบล ( ท้องถิ่น ท้องที่ ผู้สูงอายุ อสม. สาธารณสุข ผู้ทรงคุณวุฒิ องค์กรต่างๆในชุมชน ฯลฯ ) ๒. สำรวจข้อมูลสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ

  5. ความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) ๑. Feeding (รับประทานอาหารเมื่อเตรียมสำรับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า) ๐. ไม่สามารถตักอาหารเข้าปากได้ ต้องมีคนป้อนให้ ๑. ตักอาหารเองได้แต่ต้องมีคนช่วย เช่น ช่วยใช้ช้อนตักเตรียมไว้ให้หรือตัดเป็นเล็กๆไว้ล่วงหน้า ๒. ตักอาหารและช่วยตัวเองได้เป็นปกติ ๒. Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา ๒๔ - ๒๘ ชั่วโมงที่ผ่านมา) ๐. ต้องการความช่วยเหลือ ๑. ทำเองได้ (รวมทั้งที่ทำได้เองถ้าเตรียมอุปกรณ์ไว้ให้) ๓. Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปยังเก้าอี้) ๐. ไม่สามารถนั่งได้ (นั่งแล้วจะล้มเสมอ) หรือต้องใช้คนสองคนช่วยกันยกขึ้น ๑. ต้องการความช่วยเหลืออย่างมากจึงจะนั่งได้ เช่น ต้องใช้คนที่แข็งแรงหรือมีทักษะ ๑ คน หรือใช้คนทั่วไป ๒ คนพยุงหรือดันขึ้นมาจึงจะนั่งอยู่ได้ ๒. ต้องการความช่วยเหลือบ้าง เช่น บอกให้ทำตาม หรือช่วยพยุงเล็กน้อย หรือต้องมีคนดูแลเพื่อความปลอดภัย ๓. ทำได้เอง ๔. Toilet use (ใช้ห้องน้ำ) ๐. ช่วยตัวเองไม่ได้ ๑. ทำเองได้บ้าง (อย่างน้อยทำความสะอาดตัวเองได้หลังจากเสร็จธุระ) แต่ต้องการความช่วยเหลือในบางสิ่ง ๒. ช่วยตัวเองได้ดี (ขึ้นนั่งและลงจากโถส้วมเองได้ ทำความสะอาดได้เรียบร้อยหลังจากเสร็จธุระ ถอดใส่เสื้อผ้าได้ เรียบร้อย) ๕. Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้าน) ๐. เคลื่อนที่ไปไหนไม่ได้ ๑. ต้องใช้รถเข็นช่วยตัวเองให้เคลื่อนที่ได้เอง (ไม่ต้องมีคนเข็นให้) และจะต้องเข้าออกมุมห้องหรือประตูได้ ๒. เดินหรือเคลื่อนที่โดยมีคนช่วย เช่น พยุง หรือบอกให้ทำตาม หรือต้องให้ความสนใจดูแลเพื่อความปลอดภัย ๓. เดินหรือเคลื่อนที่ได้เอง

  6. ๖. Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) ๐. ต้องมีคนสวมใส่ให้ ช่วยตัวเองแทบไม่ได้หรือได้น้อย ๑. ช่วยตัวเองได้ประมาณร้อยละ ๕๐ ที่เหลือต้องมีคนช่วย ๒. ช่วยตัวเองได้ดี (รวมทั้งการติดกระดุม รูดซิบ หรือใช้เสื้อผ้าที่ดัดแปลงให้เหมาะสมก็ได้) ๗. Stairs (การขึ้นลงบันได ๑ ชั้น) ๐. ไม่สามารถทำได้ ๑. ต้องการคนช่วย ๒. ขึ้นลงได้เอง (ถ้าต้องใช้เครื่องช่วยเดิน เช่น walker จะต้องเอาขึ้นลงได้ด้วย) ๘. Bathing (การอาบน้ำ) ๐. ต้องมีคนช่วยหรือทำให้ ๑. อาบน้ำเองได้ ๙. Bowels (การกลั้นการถ่ายอุจจาระในระยะ ๑ สัปดาห์ที่ผ่านมา) ๐. กลั้นไม่ได้ หรือต้องการการสวนอุจจาระอยู่เสมอ ๑. กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกว่า ๑ ครั้งต่อสัปดาห์) ๒. กลั้นได้เป็นปกติ ๑๐.Bladder (การกลั้นปัสสาวะในระยะ ๑ สัปดาห์ที่ผ่านมา) ๐. กลั้นไม่ได้ หรือใส่สายสวนปัสสาวะแต่ไม่สามารถดูแลเองได้ ๑. กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกว่าวันละ ๑ ครั้ง) ๒. กลั้นได้เป็นปกติ

  7. หมายเหตุ : กรมอนามัยได้ประยุกต์เกณฑ์การประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล(Barthel ADL index) เพื่อให้เหมาะสมกับการดำเนินงานดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มศักยภาพดังนี้ * ผลรวมคะแนน อยู่ในช่วง 0 – 4 คะแนน จัดเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะ การ พึ่งพา หรือ กลุ่ม 3 * ผลรวมคะแนน อยู่ในช่วง 5 – 11 คะแนน จัดเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีระดับการพึ่งพา ระดับรุนแรง ถึงปานกลาง หรือ กลุ่มที่ 2 * ผลรวมคะแนน ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป จัดเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีศักยภาพไม่ ต้องการการพึ่งพาหรือ กลุ่มที่ 1

  8. แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q

  9. แบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q คะแนนรวม คะแนนรวม

  10. ตารางการแปรผลการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q

  11. แบบประเมินสมรรถภาพสมอง Mini Cog มีจุดประสงค์เพื่อ คัดกรองภาวะสมองเสื่อม สำหรับผู้สูงอายุไทยซึ่งต้องทำการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่สามารถสื่อสารได้ ทั้งนี้ผู้สัมภาษณ์คืออาสาสมัครสาธารณสุข / บุคคลทั่วไป โดยให้ทำเครื่องหมาย √ ในช่องที่ตอบถูกเท่านั้น

  12. ประเมินภาวะสมองเสื่อม โดยใช้แบบประเมิน MMSE

  13. ประเมินภาวะข้อเข่าเสื่อมประเมินภาวะข้อเข่าเสื่อม

  14. ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนการดำเนินงาน

  15. แบบประเมินศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุแบบประเมินศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุ

  16. แบบประเมินศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุแบบประเมินศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุชมรมและเครือข่ายผู้สูงอายุ เกณฑ์ประเมินชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพ หน่วยงาน..............................................อำเภอ...............................จังหวัด....................................

  17. เกณฑ์การประเมินการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านเกณฑ์การประเมินการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน

  18. แบบบันทึกรายงานการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้านแบบบันทึกรายงานการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน

  19. เกณฑ์การประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านเกณฑ์การประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน โดยบุคลากรสาธารณสุข

  20. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข ตำบล....................................อำเภอ...............................................จังหวัด..........................

  21. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  22. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  23. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  24. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  25. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  26. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  27. เกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care : HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข

  28. การให้คะแนน สำหรับ เกณฑ์ประเมินคุณภาพชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  29. คะแนนการประเมินคุณภาพชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคะแนนการประเมินคุณภาพชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 80 คะแนนขึ้นไป ระดับดีมาก 40 – 80 คะแนน ระดับดี น้อยกว่า 40 คะแนน พอใช้

  30. แบบประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) กลุ่มที่ 3 (ติดเตียง) ของชุมชน ตำบล...............................อำเภอ...............................จังหวัด....................................

  31. งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน • LTC 15,000 บาท • พัฒนาทักษะทางกายและใจ 15,000 บาท

  32. สวัสดี

More Related