360 likes | 728 Vues
การใช้ฐานข้อมูล ACS โดยสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. Main menu. มารู้จักกับ ACS จะสืบค้นข้อมูลจาก ACS ได้อย่างไร ? รู้จักหน้าแรก รู้จักบริการ e-mail alert ทางเลือกในการเข้าสืบค้นข้อมูล วิธีการสืบค้นและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล
E N D
การใช้ฐานข้อมูล ACS โดยสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Main menu • มารู้จักกับ ACS • จะสืบค้นข้อมูลจาก ACS ได้อย่างไร ? • รู้จักหน้าแรก • รู้จักบริการ e-mail alert • ทางเลือกในการเข้าสืบค้นข้อมูล • วิธีการสืบค้นและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล • การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล • การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล exit
มารู้จักกับ ACS เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คลอบคลุมบทความจากวารสารและนิตยสารทางด้านเคมี และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องจำนวน45* ชื่อเรื่อง ของสำนักพิมพ์ ACS (American Chemical Society)โดยให้บริการข้อมูลสาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็ม *ข้อมูล ณ.วันที่ 25 ก.พ.2547
จะสืบค้นข้อมูลจาก ACS ได้อย่างไร ? URL: http://pubs.acs.org/ http://www.lib.kmutt.ac.th/online.html http://www.kmutt.ac.th/
5 หน้าแรกของ ACS 3 1 4 6 2 1.ประกาศหรือข่าวสารเกี่ยวกับฐานข้อมูล 6. หนังสือของสำนักพิมพ์ACS และOxford university pressที่มีจำหน่าย 2.บทความที่น่าสนใจในฐานข้อมูล 3. การสืบค้นบทความจากวารสาร 4. การสืบค้นบทความจากชื่อวารสาร/นิตยสาร 5.บริการส่งข่าวสารใหม่ๆที่ผู้ใช้สนใจผ่านทางe-mail
e-mail alertsคือ บริการข่าวสารของฐานข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งข่าวสารใหม่ๆ แก่สมาชิกที่สนใจทาง e-mail 1 5 4 ขั้นตอนการสมัคร e-mail alerts 1.คลิก Sign up for email alerts 2.มี 2 รูปแบบให้เลือก ได้แก่ - ASAP ALERTS บริการข่าวสารใหม่ๆ ในเรื่องที่สนใจ - TOC ALERTS บริการหน้าสารบัญวารสารฉบับใหม่ที่สนใจ คลิกเลือก Register for ASAP Alerts หรือ Register for TOC Alerts 3.ตัวอย่างการเลือก Register for ASAP Alerts จะปรากฏหน้าจอให้แบบฟอร์มกรอกข้อมูลของผู้ใช้ กรอกเสร็จคลิก Submit form เมื่อมีข่าวสารใหม่ๆ ตรงตามความต้องการทางสำนักพิมพ์จะส่งข้อมูลไปยัง e-mailของผู้ใช้ตามที่ได้ระบุไว้ 4.เมื่อต้องการยกเลิกบริการ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงในเรื่องที่สนใจ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคลิกเลือกที่Unsubscribe or Modify ASAP Alerts Subscription หรือUnsubscribe or Modify TOC Alerts Subscription
ทางเลือกในการเข้าสืบค้นข้อมูลทางเลือกในการเข้าสืบค้นข้อมูล • มี 2 ทางเลือกได้แก่ • search the journals(การสืบค้นบทความจากวารสาร) คือ วิธีการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญ • ในการสืบค้นข้อมูลจากทุกรายชื่อวารสารที่มีอยู่ในฐานข้อมูล • 2.journals&magazines(การสืบค้นบทความจากชื่อวารสาร/นิตยสาร ) คือ วิธีการสืบค้นเมื่อ • ผู้ใช้ทราบรายละเอียดของบทความที่ต้องการว่าอยู่ในวารสาร/นิตยสารชื่ออะไร
วิธีการสืบค้นข้อมูล แบบ Citation Find แบบ Basic Search แบบ Advanced Search
1.คลิกเลือกsearch the journals • 2.จะปรากฏหน้าจอการสืบค้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ • แบบ Citation Find • แบบ Basic Search • แบบ Advanced Search 1
1 A 3 2 4 A.Citation Findสืบค้นโดย 1 เลือกชื่อวารสารที่ต้องการ เช่น เลือก biochemistry 2 ระบุเล่มที่ของวารสาร (vol)และหมายเลขหน้าแรกของบทความ First Page เช่น Vol : 42 และ First Page :9946 3 การสืบค้นจากเลขประจำบทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (DOI) 4.เมื่อระบุข้อมูลเสร็จให้คลิก Citation Find
5.หน้าจอแสดงผลการสืบค้นตามที่ได้ระบุ5.หน้าจอแสดงผลการสืบค้นตามที่ได้ระบุ พบ 1 บทความตามเงื่อนไนที่ระบุ
1 2 3 B 4 B. Search Journals การสืบค้นแบบ Basic Search สืบค้นข้อมูลโดย 1.ใส่คำค้นที่ต้องการลงในช่องว่างเช่น residue 2.เลือกเขตข้อมูลที่ต้องการให้สืบค้น ได้แก่ ผู้แต่ง(Auther), ชื่อเรื่อง(Title), สาระสังเขป (Abstract),ชื่อเรื่องหรือสาระสังเขป(Title or Abstract) , ทุกๆที่ในบทความ(Anywhere in Article) 3.เลือกตัวเชื่อมระหว่างคำค้นที่ใช้ (เมื่อใช้ 2 คำค้นขึ้นไป) ได้แก่ And, Or, Not 4.เมื่อระบุคำที่ต้องการเสร็จแล้ว คลิก Search เช่น การสืบค้นเรื่องสารตกค้างในไข่ ระบุคำว่า residue and egg ลงในช่องว่างดังรูป
5.หน้าจอแสดงผลการสืบค้นตามที่ได้ระบุ5.หน้าจอแสดงผลการสืบค้นตามที่ได้ระบุ พบ 10บทความที่เกี่ยวข้อง
1 2 3 5 4 C 6 7 8 9 C.Advanced Search Optionsสืบค้นโดยการใช้คำสำคัญและระบุรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับวารสาร การกำหนดช่วงระยะเวลาของบทความที่ต้องการ และการแสดงผลการสืบค้น 1.ใส่คำค้นที่ต้องการลงในช่องว่างเช่น residue 2.เลือกเขตข้อมูลที่ต้องการให้สืบค้น ได้แก่ ผู้แต่ง(Auther), ชื่อเรื่อง(Title), สาระสังเขป (Abstract),ชื่อเรื่องหรือสาระสังเขป(Title or Abstract) , ทุกๆที่ในบทความ(Anywhere in Article) 3.เลือกตัวเชื่อมระหว่างคำค้นที่ใช้ (เมื่อใช้ 2 คำค้นขึ้นไป) ได้แก่ And, Or, Not
4.เลือกตามรายชื่อวารสาร มี 2 วิธีคือ 4.1 เลือกวารสารเพียงรายชื่อเดียว : ให้คลิกที่รายชื่อวารสารที่ต้องการ 1 ชื่อ 4.2 เลือกวารสารที่ต้องการมากกว่า 1 ชื่อ - เลือกวารสารที่อยู่ตำแหน่งติดกัน : เลือกรายชื่อลำดับที่เริ่มต้นกดปุ่มshift ค้างไว้ แล้วเลือกรายชื่อลำดับสุดท้ายที่ต้องการ - เลือกรายชื่อวารสารที่อยู่ตำแหน่งห่างกัน :เลือกรายชื่อที่ต้องการโดยเริ่มจากตำแหน่งใดก็ได้กดปุ่มCtrl ค้างไว้ แล้วเลือกรายชื่อที่ ต้องการเพิ่ม 5.เลือกตามหัวเรื่องวารสาร ฐานข้อมูลจะทำการสืบค้นข้อมูลคลอบคลุมรายชื่อวารสารทั้งหมดที่อยู่ภายในหัวเรื่องนั้น 6.กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาของบทความที่ต้องการ ได้แก่ -ASAP: บทความที่นำเสนอทางออนไลน์ก่อนสิ่งพิมพ์ - Archives :บทความที่มีอยู่ในฐานข้อมูลตั้งแต่ปี 1879-1997 - Current+4 year: บทความปีปัจจุบันและย้อนหลังไป 4 ปี - All : บทความทั้งหมดในฐานข้อมูล - From-To : ช่วงระยะเวลาเดือนปีเริ่มต้นและสิ้นสุด ของบทความที่ต้องการ 7.กำหนดลำดับการแสดงผลการสืบค้น - Relevance: ตามความเกี่ยวข้อง - Date : ตามปี - Journals : ตามรายชื่อวารสาร 8.กำหนดจำนวนการแสดงผลการสืบค้นต่อหนึ่งหน้า 9.เมื่อระบุเงื่อนไขที่ต้องการเสร็จแล้วคลิก Search
10.ผลการสืบค้นตามเงื่อนไขที่ได้ระบุพบ8 บทความที่เกี่ยวข้อง
3 4 5 1 2 1.คลิกเลือกjournals&magazines 2.คลิกเลือกรายการชื่อวารสาร/นิตยสารที่ต้องการ 3.รายชื่อวารสารและนิตยสารเรียงตามลำดับอักษรA-Z 4.รายชื่อวารสารและนิตยสารเรียงตามเนื้อหาสาขาวิชา 5.ข้อมูลเกี่ยวกับการบอกรับวารสาร
ตัวอย่าง การเลือกชื่อวารสาร/นิตยสารเช่น Accounts of Chemical Research จะปรากฏหน้าจอข้อมูลฉบับล่าสุด 1 2 3 4 9 5 6 7 8 1.การสืบค้นบทความวารสาร(search the journals) 2.บริการส่งข่าวสารใหม่ๆที่ผู้ใช้สนใจ(e-mail alerts) 3.รายชื่อบทความที่ถูกนำเสนอผ่านออนไลน์ก่อนสิ่งพิมพ์(articles ASAP ) 4.รายชื่อบทความฉบับย้อนหลัง สามารถเลือกได้ตามความต้องการ(back issue) 5.รายละเอียดหน้าปก 6.ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับวารสาร/นิตยสารฉบับปัจจุบัน 7.แสดงสถานะของวารสารหรือนิตยสารฉบับปัจจุบัน 8.รายชื่อบทความทั้งหมดที่ปรากฏอยู่ในวารสารหรือนิตยสารฉบับปัจจุบัน
9.รายละเอียดเกี่ยวกับวารสาร/นิตยสารตามรายชื่อที่เลือก ได้แก่ -หลักจริยธรรมในการใช้วารสาร -ตัวอย่างบทความในฉบับย้อนหลัง(sample issue) -บทความพิเศษ(special issue) -รายละเอียดทั่วไปเกี่ยวกับวารสาร/นิตยสารชื่อที่เลือก -แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับวารสาร/นิตยสารอย่างย่อ โดยระบบจะDownload เนื้อหาให้อย่างรวดเร็ว(supporting information) - ดรรชนีผู้แต่งสามารถสืบค้นข้อมูลได้(Author Index) -รายละเอียดตัวเล่มหน้าปกและหน้าสารบัญที่มี(cover catalog) -รายละเอียดเรื่องการขออนุญาตใช้บทความ
articles ASAP : รายชื่อบทความที่ถูกนำเสนอผ่านออนไลน์ก่อนสิ่งพิมพ์ 1 2 3 4 1.รายชื่อบทความทั้งหมดที่นำเสนอผ่านออนไลน์ก่อนสิ่งพิมพ์ 2.สามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลังตามที่ต้องการได้โดยการเลือกช่วงปี(Decade) เลือกฉบับที่(Volume) เลือกเล่มที่(issue) ตามต้องการเสร็จแล้วคลิก Go 3.แสดงรูปแบบผลลัพธ์ก่อนสั่งพิมพ์ 4.วันที่นำเสนอบทความผ่านทางออนไลน์
การสืบค้นข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง (back issue) 1.คลิกเลือกช่วงปี(Decade) เลือกฉบับที่(Volume) เลือกเล่มที่(issue) ตามต้องการเสร็จแล้วคลิก Go ดังตัวอย่าง 2.จะปรากฏหน้าจอแสดงหน้าสารบัญวารสารเล่มที่เลือกไว้
หน้าจอ sample issue เป็นการสืบค้นบทความในวารสาร/นิตยสารฉบับย้อนหลัง จะปรากฏตัวอย่างบทความที่มีในเล่ม
หน้าจอการสืบค้นบทความพิเศษหรือบทความที่น่าสนใจ(special issue)ปี 1998-2003
หน้าจอการสืบค้นรายละเอียดเกี่ยวกับวารสาร/นิตยสารอย่างย่อ โดยระบบจะDownload เนื้อหาให้อย่างรวดเร็ว(supporting information)
หน้าจอการสืบค้นด้วย Author Index เป็นดัชนีรายชื่อผู้แต่งบทความในวารสาร/นิตยสารฉบับที่ต้องการ
หน้าจอการสืบค้นด้วยรูปแบบหน้าปกและหน้าสารบัญ(cover catalog) สามารถสืบค้นข้อมูลได้ตั้งแต่ปี 2001-2004
หน้าจอแสดงผลการสืบค้นหน้าจอแสดงผลการสืบค้น 1 2 3 5 4 6 7 8 9 10 11 12
หน้าจอแสดงผลการสืบค้นในเอกสารฉบับเก่าหน้าจอแสดงผลการสืบค้นในเอกสารฉบับเก่า 14
1.กลับไปหน้าสืบค้นใหม่1.กลับไปหน้าสืบค้นใหม่ 2.คำอธิบายการสืบค้น 14.เฉพาะหน้าแรกของบทความอยู่ในรูปแบบPDF(First Pages) 3.การสืบค้นบทความที่อยู่ในสถานะ Archives 4.จำนวนผลลัพธ์ที่สืบค้นได้เรียงตามลำดับความเกี่ยวข้อง 5.การจัดเรียงลำดับผลการสืบค้น 6.กำหนดจำนวนการแสดงผลการสืบค้นต่อหนึ่งหน้า 7.เปอร์เซ็นต์ความเกี่ยวข้องระหว่างเนื้อหากับคำที่ใช้สืบค้น 8.-feedback : ปัญหาหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับบทความ -Purchased : สั่งซื้อเอกสารในกรณีที่ไม่ได้เป็นสมาชิก - TOC : หน้าสารบัญวารสาร 9.DOI :เลขประจำบทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ 10.เอกสารหน้าสาระสังเขป(Abstract) 11.เอกสารฉบับเต็ม(full text)ในรูปแบบHTML 12. เอกสารฉบับเต็ม(full text)ในรูปแบบPDF 13.แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับบทความนี้อย่างย่อ โดยระบบจะDownload เนื้อหาให้อย่างรวดเร็ว(supporting information)
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลแบบสาระสังเขป(Abstracts)ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลแบบสาระสังเขป(Abstracts) ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลแบบHTML
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลแบบ supporting information
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลแบบ First Pages
การจัดการผลข้อมูล การสั่งพิมพ์ข้อมูล(Print) คลิก file print หรือ ในหน้าPDFคลิกเลือกไอคอนรูปเครื่องพิมพ์ได้เลย
การสั่งบันทึก (save)ข้อมูล คลิก file saveหรือ ในหน้าPDFคลิกเลือกไอคอนรูปแผ่นดิสก์ได้เลย