1 / 53

ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้. วันอังคารที่ 4 สิงหาคม 2552. ระบบบริหารงานบุคคล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล. http://www.hrd.kmutt.ac.th. ระบบบริหารงานบุคคลหลักการพื้นฐานใน พ.ร.บ.

Télécharger la présentation

ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันอังคารที่ 4 สิงหาคม 2552

  2. ระบบบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล http://www.hrd.kmutt.ac.th

  3. ระบบบริหารงานบุคคลหลักการพื้นฐานใน พ.ร.บ. 1. ใช้ระบบบุคคลคู่ขนาน มีทั้งข้าราชการและพนักงาน การเปลี่ยนสภาพจากข้าราชการเป็นพนักงาน เป็นไปตามความสมัครใจ มีการประเมินช่วงเวลาปลายเปิด มาตรา 63 ข้าราชการ…ผู้ใดสมัครใจจะเปลี่ยนไปพนักงาน….ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้แสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา และจะต้องผ่านการคัดเลือกหรือการประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด

  4. 2. รักษาสิทธิประโยชน์ของข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงาน มาตรา 63 …. ให้ผู้ซึ่งเปลี่ยนไปเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของมหาวิทยาลัยตามวรรคหนึ่งได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง หรือค่าตอบแทนที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ และได้รับสวัสดิการ และประโยชน์อย่างอื่น ที่ข้าราชการผู้นั้นหรือลูกจ้างผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ 3. การประกันสิทธิของพนักงาน มาตรา 11 กิจการของมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของมหาวิทยาลัยต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน

  5. การเตรียมการและการดำเนินงานเมื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับการเตรียมการและการดำเนินงานเมื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ มหาวิทยาลัยตั้งคณะทำงาน 7 ชุด เพื่อดำเนินการ 1. กลุ่มแผนงานและบริหารงานบุคคล 2. กลุ่มการเงิน ทรัพย์สินและพัสดุ 3. กลุ่มเชิงบริหาร 4. กลุ่มเชิงวิชาการ 5. กลุ่มสวัสดิการ 6. กลุ่มกิจการนักศึกษา 7. กลุ่มบริการสารสนเทศ

  6. คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2542 ในเรื่องการสนับสนุนด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ดังนี้ : • สำนักงบประมาณจะจัดสรรเงินเพิ่มให้เท่ากับ 60% ของเงินเดือนเดิม(เงินเดือนข้าราชการ) เพื่อใช้ในการเพิ่มเงินเดือน และจ่ายค่าสวัสดิการเฉพาะในด้านการสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่ารักษาพยาบาลและค่าเล่าเรียนบุตร

  7. สำนักงบประมาณจะจัดสรรเงินให้เพิ่มเติม สำหรับค่าสวัสดิการที่กำหนดโดยกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน

  8. กลไกการบริหารระบบบุคคลกลไกการบริหารระบบบุคคล 1. ข้าราชการ คณะอนุกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (อ.ก.พ.อ.) 2. พนักงาน คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณะกรรมการบริหารงานบุคคลมีองค์ประกอบของคณะกรรมการเช่นเดียวกับ อ.ก.พ.อ. แต่เพิ่ม - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ (2) - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (2) - ผู้แทนพนักงาน

  9. ระเบียบบริหารงานบุคคล ออกตามความในมาตรา 18 วรรค 10 มาตรา 18 สภามหาวิทยาลัยมีอำนาจหน้าที่… ดังนี้ (10) ออกข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งการกำหนดอัตราเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทน สวัสดิการ และประโยชน์อย่างอื่น การบรรจุและแต่งตั้ง การให้ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง การออกจากงาน ระเบียบวินัย การลงโทษ การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษของพนักงานและลูกจ้าง

  10. 3. หลักประกันเรื่องการอุทธรณ์ร้องทุกข์ คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธาน - ผู้แทนผู้บริหาร (3) - ผู้แทนพนักงาน (3) - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (3)

  11. พนักงานและลูกจ้าง พนักงานและลูกจ้างมี 2 กลุ่ม 1. ตำแหน่งทางวิชาชีพ ได้แก่ - ตำแหน่งทางวิชาการ กลุ่มวิชาการ (ว) - ตำแหน่งทางวิชาชีพอื่นๆ กลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) กลุ่มบริหารและสนับสนุน (บ-จ-พ) 2. ตำแหน่งบริหาร

  12. โครงสร้างเงินเดือนค่าตอบแทนโครงสร้างเงินเดือนค่าตอบแทน • - จ้างบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ Arthur Andersen จำกัด จัดทำ • - ตุลาคม 2548 ปรับปรุงโครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนพนักงานมหาวิทยาลัย : มจธ. ดำเนินการจัดทำเอง • - 2551 อยู่ระหว่างปรับปรุงโครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนพนักงานมหาวิทยาลัย : มจธ. ดำเนินการเอง

  13. 1 2 3 4 โครงสร้างตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน ผู้บริหารมหาวิทยาลัย 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดีอาวุโส 3. รองอธิการบดี/คณบดี/ผู้อำนวยการสำนัก 4. ผู้ช่วยอธิการบดี/รอง คณบดี/หัวหน้าภาควิชา/ประธานสายวิชา หรือเทียบเท่า

  14. โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มวิชาการโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มวิชาการ

  15. ว6 ว5 ว4 ว3 ว2 ว1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มวิชาการ (ว) อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ศ./ศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ศ./ศ.วิจัย ว พิเศษ อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย รศ./รศ.วิจัย ป.เอก อ. นักวิจัย ผศ./ผศ.วิจัย ป.โท อ. นักวิจัย อ. นักวิจัย

  16. โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) ระดับ 1-4 ครูปฏิบัติการ นายช่างเทคนิค ระดับ 5 ครูปฏิบัติการชำนาญการ นายช่างเทคนิคชำนาญการ ระดับ 2-5 นักทรัพย์สินทางปัญญา มัณฑนากร นักสารสนเทศ นักคอมพิวเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคอมพิวเตอร์ สถาปนิก วิศวกร นักบรรณสารสนเทศ ผู้ช่วยนักวิจัย ครู (มีใบประกอบวิชาชีพ) นักบริหารจัดการเทคโนโลยีเชิงธุรกิจ ระดับ 6-7 ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

  17. สว6 สว5 สว7 สว4 สว3 สว2 สว1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มสนับสนุนวิชาการ (สว) เชี่ยวชาญพิเศษ เชี่ยวชาญ ชำนาญการ (ครู/ นายช่างเทคนิค) ปเอก ป.ตรี/ป.โท ปวส.

  18. โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน ระดับ บหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทผู้บริหารในสายวิชาชีพ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางด้านบริหาร และหมายรวมถึงพนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับชำนาญการที่เทียบระดับได้เท่ากับผู้บริหารด้วย ระดับ จหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทจัดการในสายวิชาชีพ โดยเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานซึ่งต้องใช้ความรู้ในระดับปริญญาทางวิชาการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่ง ระดับ พหมายถึง พนักงานในกลุ่มบริหารและสนับสนุน ประเภทพนักงานทั่วไปในสายวิชาชีพ โดยเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานสนับสนุนงานปฏิบัติการและวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา

  19. บ 4 บ 3 บ 2 บ 1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (บ) ผู้อำนวยการอาวุโส ผู้ชำนาญการอาวุโส ผู้อำนวยการ ผู้ชำนาญการ 3 หัวหน้างานอาวุโส ผู้ชำนาญการ 2 หัวหน้างาน ชำนาญการ 1 จ4

  20. เงินประจำตำแหน่งบริหารเงินประจำตำแหน่งบริหาร

  21. โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (ระดับ จ) ระดับ 1-3 นักจิตวิทยา นักวิชาการเกษตร นักโสตทัศนูปกรณ์ พยาบาล นักบริการการศึกษา นักวิเทศสัมพันธ์ นักบริหารงานบุคคล นิติกร นักบริหารงานทั่วไป นักบริหารการเงิน นักบัญชี นักพัสดุ นักประชาสัมพันธ์ ผู้ตรวจสอบภายใน นักสาธารณสุข นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณ ระดับ 4 นักจิตวิทยาอาวุโส นักวิชาการเกษตรอาวุโส นักโสตทัศนูปกรณ์อาวุโส พยาบาลอาวุโส นักบริการการศึกษาอาวุโส นักวิเทศสัมพันธ์อาวุโส นักบริหารงานบุคคลอาวุโส นิติกรอาวุโส นักบริหารงานทั่วไปอาวุโส นักบริหารการเงินอาวุโส นักบัญชีอาวุโส นักพัสดุอาวุโส นักประชาสัมพันธ์อาวุโส ผู้ตรวจสอบภายในอาวุโส นักสาธารณสุขอาวุโส นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณอาวุโส

  22. จ 4 จ 3 จ 2 จ 1 โครงสร้างตำแหน่ง อัตราเงินเดือน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (จ) บ1 ปเอก ป.ตรี/ป.โท

  23. โครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุนโครงสร้างตำแหน่งพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน พนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (ระดับ พ) ระดับ 1-3 พนักงานช่วยบริหาร พนักงานโสตทัศนูปกรณ์ พนักงานช่วยบริหาร ระดับ 4 พนักงานช่วยบริหารอาวุโส พนักงานโสตทัศนูปกรณ์อาวุโส พนักงานช่วยบริหารอาวุโส

  24. พ 4 พ 3 พ 2 พ 1 โครงสร้างอัตราเงินเดือนพนักงานกลุ่มบริหารและสนับสนุน (พ)

  25. พนักงานและลูกจ้างมี 3 ประเภท 1.1 พนักงานแบบไม่ประจำ 1.2 พนักงานแบบประจำ 1.3 ลูกจ้าง

  26. การเชิญชวนและให้โอกาสในการเปลี่ยนสภาพ ยื่นใบสมัคร หน่วยงาน จัดเตรียมเอกสาร ผู้สนใจ ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการประเมิน คณะกรรมการบริหารงานบุคคลอนุมัติ ให้ออก

  27. ? จะได้อะไรจากการสมัครเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการซึ่งเปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัย ถือเป็นการให้ออกจากราชการเพราะทางราชการยุบ หรือเลิกตำแหน่ง จะได้บำเหน็จ บำนาญ เร็วกว่าปกติ ทั้งผู้ที่อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญและระบบ กบข. จะได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน รวมกันแล้วไม่น้อยกว่าเงินเดือน ค่าจ้างหรือค่าตอบแทน ที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ และจะได้รับสวัสดิการและผลประโยชน์อย่างอื่น รวมกันแล้วไม่น้อยกว่าที่ข้าราชการผู้นั้นเคยได้รับจากส่วนราชการ

  28. การเชิญชวนและให้โอกาสในการเปลี่ยนสภาพ (ระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที่ พ.ร.บ. ประกาศใช้) ข้าราชการที่ประเมินผ่าน เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง 3 ปี โดยไม่ต้องผ่านการทดลองงาน ข้าราชการที่ประเมินไม่ผ่าน ให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดิมอย่างน้อย 1 ปี ผู้บังคับบัญชาจัดให้มีการพัฒนา ฝึกอบรม สร้างความพร้อม เพื่อขอรับการประเมินใหม่ ให้โอกาสอีก 3 ครั้งในเวลา 5 ปี ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งวิชาการก่อนเปลี่ยนสภาพยังดำรงตำแหน่งวิชาการนั้นต่อ เมื่อเป็นพนักงาน ได้ค่ารักษาพยาบาลรวมถึงบุคคลในครอบครัว

  29. การปรับเงินเดือนของขรก.ที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนง.มหาวิทยาลัยการปรับเงินเดือนของขรก.ที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนง.มหาวิทยาลัย ประเภท การปรับเงินเดือน ข้าราชการสาย ก. เงินเดือนเดิม X 1.6 ข้าราชการสาย ข. และ ค. เงินเดือนเดิม X 1.5 (ตำแหน่งที่ใช้วุฒิปริญญาตรีขี้นไป) ข้าราชการสาย ข. และ ค. เงินเดือนเดิม X 1.25 (ตำแหน่งที่ใช้วุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี) สำหรับข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานหลังวันที่ 2 ตุลาคม 2548 ให้ใช้วิธีเจรจาเงินเดือน ทั้งนี้ให้เทียบเคียงกับพนักงานในระบบที่ใกล้เคียงกัน โดยจะต้องได้รับเงินเดือนไม่เกินกว่าพนักงานที่เปลี่ยนสภาพมาก่อน

  30. การบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยการบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย 1. อายุ 18 ถึง 60 ปี , หลังจากนั้นจ้างทีละหนึ่งปีถึง 65 ปี , หลังจากนั้นอนุมัติโดยสภามหาวิทยาลัย 2. สัญญาจ้าง สัญญาแรก เป็นสัญญาพนักงานทดลองงานกำหนดเวลา 2 ปี สัญญาที่สอง เป็นสัญญาพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง กำหนดเวลา 3 ปี หลังจากนั้นอาจเป็นสัญญาพนักงานประจำตามสัญญาจ้าง ไม่กำหนดเวลา หรือเป็นสัญญาจ้าง 3 ปีอีกต่อไป

  31. การประเมินพนักงาน 1. การประเมินพนักงานมี 3 ชนิด - ประเมินเพื่อปรับเงินเดือน - ประเมินเพื่อสมัครเข้าเป็นพนักงาน - ประเมินต่อสัญญาจ้าง 2. มีเกณฑ์กำหนดลักษณะงาน และเกณฑ์การคิดน้ำหนักของงาน รวมทั้งการประเมินเชิงคุณภาพ ใช้ในการประเมินพนักงาน 3.การประเมินข้าราชการเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนใช้เกณฑ์การประเมินเดียวกับพนักงาน โดยยึดหลักว่าบุคคลที่ทำงานในตำแหน่งวิชาชีพเดียวกัน ต้องทำงานเหมือนกัน การเลือกเป็นข้าราชการหรือพนักงาน (รวมทั้งเงินเดือนและสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ) เป็นสิทธิส่วนบุคคล

  32. การประเมินพนักงานกลุ่มวิชาการ (ว)1. การประเมินด้านวิชาการ 5 กลุ่ม 1.1) งานสอน 1.2) งานวิชาการ 1.3) งานบริหาร 1.4) งานบริการอื่น ๆ 1.5) การหาทรัพยากรให้แก่มหาวิทยาลัย2. การประเมินคุณลักษณะเฉพาะตัวและผลงานอื่นๆ

  33. สัดส่วนภาระงานของแต่ละระดับตำแหน่งอาจารย์ ผศ. รศ. ศ.

  34. สัดส่วนภาระงานของแต่ละระดับตำแหน่งนักวิจัย ผศ.วิจัย รศ.วิจัย ศ.วิจัย

  35. การประเมินตำแหน่งวิชาชีพอื่นๆ1. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. การประเมินคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะเฉพาะตัว แบบประเมินตำแหน่งวิชาการ1. ผู้บริหารระดับสูง2. ผู้บริหารระดับกลางที่งานเน้นในด้านบริหาร3. ผู้บริหารระดับกลางที่งานเน้นในด้านวิชาการ4. อาจารย์ที่ไม่ดำรงตำแหน่งบริหาร แบบประเมินตำแหน่งวิชาชีพอื่นๆ มี 3 แบบใช้สำหรับ1. ผู้บริหารระดับสูง2. ผู้บริหารระดับกลาง3. ระดับปฏิบัติงาน

  36. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ พนักงานมหาวิทยาลัย • สิทธิจากเงินบำเหน็จบำนาญ (สำหรับ ขรก.ที่เปลี่ยนสภาพ อายุราชการเกิน 10 ปี เลือกได้) • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (พนักงาน 4-8% มหาวิทยาลัย 8%) • เงินบำเหน็จ (สำหรับ พนง.เปลี่ยนสภาพที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) • เงินชดเชยกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด • เงินทดแทนจ่ายให้เมื่อเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน • ค่ารักษาพยาบาลของพนักงานและบุคคลในครอบครัว • ค่าทำฟัน • การตรวจสุขภาพประจำปี • การประกันอุบัติเหตุ • ค่าเล่าเรียนบุตร • สิทธิบุตรเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ มจธ. • สวัสดิการงานศพ (เจ้าภาพงานศพ ,พวงหรีด, รถ) • เงินช่วยพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย

  37. พนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างมหาวิทยาลัยพนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างมหาวิทยาลัย • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ลูกจ้าง 2-3% มหาวิทยาลัย 2-3%) • เงินชดเชยกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด • เงินทดแทนจ่ายให้เมื่อเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน • ค่ารักษาพยาบาลของลูกจ้าง • ค่าทำฟัน • ค่าคลอดบุตรตามการจ่ายจริงตามระเบียบฯ ไม่เกิน 3 ครั้ง • ค่าคลอดบุตรสำหรับลูกจ้างชาย เหมาจ่ายไม่เกิน 2 ครั้งๆ ละ 6,000 บาท/ครั้ง • (ถ้าสามีและภรรยาเป็นพนักงานแบบไม่ประจำและลูกจ้างทั้งคู่ ไม่ให้ใช้สิทธิซ้ำซ้อนกัน) • การตรวจสุขภาพประจำปี • การประกันอุบัติเหตุ • สวัสดิการงานศพ (พวงหรีด) • เงินช่วยพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย

  38. เอกสิทธิ์สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสิทธิจากเงินบำเหน็จ บำนาญ • เมื่อเปลี่ยนสภาพจะได้รับสิทธิในเรื่องเงินบำเหน็จ บำนาญในทันที • หากมีอายุราชการ 1- 9 ปี จะได้รับบำเหน็จ • อายุราชการตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป เลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญ • โดยปกติ ข้าราชการที่ขอลาออกจากราชการ • อายุราชการไม่ถึง 10 ปี จะไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ • อายุราชการไม่ถึง 25 ปี จะไม่มีสิทธิได้รับบำนาญ สิทธิในการสมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานมหาวิทยาลัยสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อทดแทนกองทุน กบข. หลักการคล้ายกับระบบเงินบำเหน็จของกองทุน กบข. แต่จะไม่มีระบบบำนาญให้เลือกรับ

  39. ตารางเงินสะสมและสมทบของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตารางเงินสะสมและสมทบของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานสะสม 4–8% ของเงินเดือนพนักงาน มหาวิทยาลัยสมทบ 8% ของเงินเดือนพนักงาน รวม 12 -16% ของเงินเดือนพนักงาน

  40. ตารางการได้รับยกเว้นภาษีตารางการได้รับยกเว้นภาษี

  41. ผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพิ่มค่า ……… ตามเวลาทำงานที่เพิ่มขึ้น เมื่อพนักงานมหาวิทยาลัยที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลาออกจากงาน หรือ พ้นจากงานโดยไม่มีความผิด พนักงานจะได้รับเงินสะสมและเงินสมทบพร้อมผลประโยชน์จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ให้เป็นสวัสดิการ อายุงานเงินสมทบพร้อมผลประโยชน์ (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 0 ตั้งแต่ 1 ปี แต่ไม่ถึง 2 ปี 40 ตั้งแต่ 2 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี 50 ตั้งแต่3 ปี แต่ไม่ถึง 4 ปี 60 ตั้งแต่ 4 ปี แต่ไม่ถึง 5 ปี 80 ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป 100

  42. สิทธิพิเศษ……….. เฉพาะพนักงานมหาวิทยาลัย ที่เปลี่ยนสภาพมาจากข้าราชการ ข้าราชการที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงาน เมื่อเกษียณอายุหรือเสียชีวิต มีสิทธิได้รับเงินสมทบเต็มจำนวนโดยไม่ต้องคำนึงถึงอายุงานเหมือนในกรณีทั่วๆไป (นอกเหนือจากที่ได้รับการยกเว้นภาษีในส่วนของสิทธิประโยชน์)

  43. ผลประโยชน์จากเงินชดเชยผลประโยชน์จากเงินชดเชย ยิ่งนาน ……… ผลประโยชน์ยิ่งเพิ่ม เพื่อเป็นผลประโยชน์ตอบแทนแก่พนักงานในกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด มหาวิทยาลัยจะจัดสรรเงินชดเชยให้โดยอิงกับอายุการทำงาน สูงสุดถึง 10 เท่าของอัตราค่าจ้างเดือนสุดท้าย ตารางการจ่ายเงินชดเชย

  44. พิเศษ !!! เฉพาะพนักงานมหาวิทยาลัย ความคุ้มครองกรณีทุพพลภาพหรือเสียชีวิต พนักงานจะได้รับความคุ้มครองในกรณีสูญเสียอวัยวะของร่างกาย ทุพพลภาพ รวมถึงสูญหายหรือเสียชีวิต เนื่องจากการทำงานหรือเกี่ยวเนื่องกับการทำงานให้มหาวิทยาลัย เป็นวงเงินถึง 60% ของเงินเดือน แต่ไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท และไม่เกิน 9,000 บาทต่อเดือน ระยะเวลาจ่ายเงินทดแทนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยว่าด้วยเงินทดแทน พ.ศ. 2542 ข้าราชการ ถ้าสูญเสียอวัยวะของร่างกาย ทุพพลภาพ เนื่องจากการทำงาน จะได้รับเงินทำขวัญ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง พ.ศ. 2516 ซึ่งมีอัตราการจ่ายน้อยกว่าข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย

  45. ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล พนักงานและครอบครัวจะได้รับความคุ้มครองในเรื่องค่ารักษาพยาบาลค่าอาหาร ค่าห้อง รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในกรณีที่เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลของรัฐบาลและของเอกชน ทั้งนี้ พนักงานมหาวิทยาลัยจะได้รับความคุ้มครองดังกล่าว มากกว่า ที่ข้าราชการได้รับ ทั้งในส่วนของสถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชน ครอบครัว : o บิดามารดาของพนักงาน o คู่สมรส o บุตรชอบด้วยกฎหมาย (อายุไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ ไม่มีรายได้เป็นของ ตนเองและเป็นโสด)

  46. พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยใน ณ สถานพยาบาลเอกชนโดยไม่มีข้อกำหนดว่าต้องเป็นกรณีอุบัติเหตุอุบัติภัย หรือมีความจำเป็นเร่งด่วนตามที่แพทย์รับรอง - รักษาติดต่อกันถึง 30 วัน เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 6,000 บาท - รักษาติดต่อกันเกิน 30 วัน ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินวันละ 200 บาท สำหรับการเข้ารักษาพยาบาลทั่วไปในสถานพยาบาลของรัฐบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเบิกในส่วนของค่ารักษาพยาบาลได้ตามที่จ่ายจริง โดยไม่มีกำหนดเวลา เช่นเดียวกันกับข้าราชการ

  47. พิเศษ ! ! ! ค่ารักษาโรคฟัน พนักงานและบุคคลในครอบครัวสามารถเบิกค่ารักษาโรคฟันได้ ดังนี้ - เบิกได้ตามที่จ่ายจริง ในสถานพยาบาลของรัฐบาล - เบิกได้ไม่เกิน 3,000 บาทต่อปี ในสถานพยาบาลของเอกชน พิเศษ ! ! ! ค่าตรวจสุขภาพทั่วไป เฉพาะพนักงาน (ไม่รวมบุคคลในครอบครัว) มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการตรวจสุขภาพทั่วไปได้ไม่เกิน 1,000 บาท/ปี

  48. สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยที่บรรจุหลังวันที่ 7 มีนาคม 2546 สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย ที่ไม่ได้เปลี่ยนสภาพมาจากข้าราชการ แต่ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ภายหลังวันที่ 7 มีนาคม 2546 จะยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ เฉพาะสำหรับตนเอง รวมถึงคู่สมรสและบุตร ** บิดา มารดาจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์นี้

  49. เปรียบเทียบสิทธิประโยชน์เปรียบเทียบสิทธิประโยชน์ ระหว่างพนักงานมหาวิทยาลัยกับข้าราชการ • พนักงาน • - บำเหน็จ บำนาญ (ได้รับเมื่อเปลี่ยนสภาพ) • - สวัสดิการการศึกษาบุตร • - ค่ารักษาพยาบาลพนักงานและครอบครัว • - เงินทดแทน • เงินชดเชย • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • เงินช่วยค่าจัดการศพ ข้าราชการ - บำเหน็จ บำนาญ - สวัสดิการการศึกษาบุตร - ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว - เงินทดแทน

More Related