830 likes | 1.5k Vues
M anagement I nformation S ystem. 3. Chapter. ประเภทของระบบสารสนเทศ. M anagement I nformation S ystem. บทนี้มีอะไรบ้าง ?. 3.1 ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กร 3.2 การจำแนกตามหน้าที่ขององค์กร 3.3 การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
E N D
Management Information System 3 Chapter ประเภทของระบบสารสนเทศ
Management Information System บทนี้มีอะไรบ้าง ? • 3.1 ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กร • 3.2 การจำแนกตามหน้าที่ขององค์กร • 3.3 การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ • 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ • 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
Management Information System บทนี้มีอะไรบ้าง ? • 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ • 3.9 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ • 3.10 ปัญญาประดิษฐ์ • 3.11 ระบบผู้เชี่ยวชาญ • 3.12 สรุป
Management Information System ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจำแนก ตามโครงสร้างขององค์กร ระบบสารสนเทศจำแนก ตามหน้าที่หลักขององค์กร ระบบสารสนเทศจำแนก ตามการสนับสนุน ปัญญาประดิษฐ์ • ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน Departmental IS • ระบบสารสนเทศขององค์กร Enterprise IS • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรInterorganizational IS • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ • TPS • MRS • DSS • EIS • GDSS • GIS • Expert System • Neural Networks • Genetic Algorithm
Management Information System 3.1 ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กร • ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS) • ระบบสารสนเทศขององค์กร(Enterprise IS) • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร(Interorganizational IS)
Management Information System ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย Departmental IS • เป็นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสำหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งขององค์กร โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสำหรับคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการโยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรียกว่า Human resources information system
Management Information System ระบบสารสนเทศขององค์กร Enterprise IS • ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายในองค์กร หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์กรนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์กร
Management Information System ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร Interorganizational IS • เป็นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์กรอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ • ปัจจุบันสารสนเทศระหว่างองค์กรนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็น GISเช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน
Management Information System 3.2 การจำแนกตามหน้าที่ขององค์กร • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี(Accounting Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน(Finance Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต(Manufacturing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการตลาด(Marketing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์(Human Resource Management Information System)
Management Information System การไหลของสารสนเทศในซัพพลายเชน ซัพพลายเออร์ โรงงาน ผู้จัดจำหน่าย ร้านค้าปลีก ลูกค้า ซัพพลายเชน
Management Information System 3.3 การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing System-TPS) • ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ(Management Reporting System-MRS) • ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ(Decision Support Systems-DSS)
Management Information System ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ Transaction processing system ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ Management reporting system ระบบย่อยของMIS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Decision supporting system ระบบสารสนเทศสำนักงาน Office information system
Management Information System TPS MRS DSS • ลักษณะสารสนเทศ • ไม่ได้กำหนดล่วงหน้า • นำเสนอแบบสรุป • เกิดขึ้นไม่บ่อย • มองในอนาคต • แหล่งข้อมูลภายนอก • ขอบเขตกว้าง การตัดสินใจแบบ ไม่มีโครงสร้าง ผู้บริหาร ระดับสูง DSS การตัดสินใจแบบ กึ่งมีโครงสร้าง ผู้บริหารระดับกลาง MRS • กำหนดล่วงหน้า • มีรายละเอียดมาก • เกิดขึ้นประจำ • ข้อมูลในอตีต • แหล่งข้อมูลภายใน • ขอบเขตแคบชัดเจน การตัดสินใจแบบ มีโครงสร้าง ระดับปฏิบัติการ TPS
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ Transaction Processing Systems-TPS • ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง • จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลลูกค้า จำนวนของสินค้าที่ขายไป และการชำระเงิน
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ วัตถุประสงค์ • มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงาน หรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน • เพื่อเอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานประจำให้มีความรวดเร็ว • เพื่อเป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและรักษาความลับได้ • เพื่อเป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินในอื่น เช่น MRS หรือ DSS
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ หน้าที่ • การจัดกลุ่มของข้อมูล(Classification) • การคิดคำนวณ(Calculation) • การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting) • การสรุปข้อมูล(Summarizing) • การเก็บ(Storage)
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก • แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์กรเป็นหลัก • กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน • มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว • TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังจากที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว • ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน(structured data) • ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย • มีความแม่นยำและความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ กระบวนการของ TPSมี 3 วิธี • Batch Processing • Online Processing • Hybrid System
Management Information System Batch Processing • การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวบรวมไว้เป็นชุด เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลำดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะทำเป็นระยะๆ
Management Information System Batch Processing ข้อมูลของ ธุรกรรมที่ จัดชุดไว้ ป้อนข้อมูลเข้า แฟ้มข้อมูล ของธุรกรรม (Transaction file) ที่จัดเรียงแล้ว แฟ้มข้อมูลหลักเดิม Old Master File ตรวจสอบความถูกต้อง & ปรับปรุงให้ทันสมัย รายงานที่มี ความผิดพลาด รายงาน แฟ้มข้อมูลหลักใหม่ New Master File ปรับจาก Laudon & Laudon.(1996:215).
Management Information System Online Processing • ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM ธุรกรรม ประมวล/ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัย ในแฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ด แฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลทันที Immediate Input ประมวลผลทันที Immediate Processing ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลทันที Immediate File Update
Management Information System Hybrid Systems • เป็นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ 2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การประมวลผลจะทำในช่วงระยะเวลาที่กำหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูลการซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ Customer Integrated Systems(CIS) • เป็นระบบสารสนเทศที่พัฒนามาจาก TPS โดยลูกค้าสามารถป้อนข้อมูลและทำการประมวลผลด้วยตนเองได้ เช่น ATM การลงทะเบียนโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ และการจ่ายค่าไฟฟ้าจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านได้
Management Information System 3.4 ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ Example • บริษัท Avon นำเทคนิคการป้อนข้อมูลแบบสแกนบาร์โค้ดสินค้าเพื่อลดความผิดพลาดของการคีย์ข้อมูลใบสั่งสินค้า ซึ่งทำให้มีความแม่นยำมากขึ้น 76% ผลผลิตเพิ่มขึ้น 75% เวลาของการสั่งซื้อสินค้าลดลง 67% ลดต้นทุนลง 65%(Haag et al.,2000)\
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ Management Reporting Systems-MRS • ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทำงานงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยการสรุปสารสนเทศที่มีอยู่ไว้ในฐานข้อมูล(Haag et al., 2000: 54) หรือช่วยในการตัดสินใจในลักษณะที่มีโครงสร้างชัดเจน และเป็นเรื่องที่ทราบล่วงหน้า
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ Management alerting systems) • เป็นระบบสารสนเทศที่ให้รายงานให้ทราบถึงสถานการณ์และปัญหา ตลอดจนโอกาสที่เกิดขึ้น • สรุปสถานการณ์หรือปัญหา • บางครั้งเรียกว่า Management Information System-MIS
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ หน้าที่ • ช่วยในการตัดสินใจในงานประจำของผู้บริหารระดับกลาง • ช่วยในการทำรายงาน • ช่วยในการตัดสินใจที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และมีโครงสร้างแน่นอน เช่น การอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกค้า
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ ลักษณะ • ช่วยในการจัดทำรายงานซึ่งมีรูปแบบที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐานตายตัว • ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล • ช่วยในการวางแผนงานประจำ และควบคุมการทำงาน • ช่วยในการตัดสินใจที่เกิดขึ้นประจำหรือเกิดขึ้นบ่อยๆ • มีข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน และวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต • ติดตามการดำเนินงานภายในหน่วยงานเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเป้าหมายและส่งสัญญาณหากมีจุดใดที่ต้องการปรับปรุงแก้ไข
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ จัดทำรายงาน MRS เพื่อให้ผู้ใช้ทราบ สถานการณ์ หรือปัญหา ที่มา:ปรับจากHaag et al.(2000: 54)
Management Information System ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ สนับสนุนการตัดสินใจ ผลิตรายงานตามตารางที่กำหนด ระบบจัดทำรายงาน สำหรับการจัดการ Management reporting system ผลิตรายงานตามรูปแบบที่กำหนด รวบรวมและประมวลผลข้อมูล ผลิตรายงานออกมาในรูปแบบกระดาษ
Management Information System 3.5 ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ ประเภท • รายงานที่จัดทำเมื่อต้องการ(Demand report) • รายงานที่ทำตามระยะเวลากำหนด(Periodic reports) • รายงานสรุป(Summarized reports) • รายงานเมื่อมีเงื่อนไข(Exception reports)
Management Information System ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ (ต่อ) ตรงประเด็น คุณสมบัติของสารสนเทศ ความถูกต้อง ถูกเวลา สามารถพิสูจน์ได้ รูป คุณสมบัติของ MRS ประเภทของงานสำนักงาน การตัดสินใจ การจัดเอกสาร การเก็บรักษา การจัดเตรียมข้อมูล การติดต่อสื่อสาร รูป ประเภทของงานสำนักงาน
Management Information System 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support Systems-DSS ลักษณะของ DSS • ใช้สำหรับประกอบการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลักษณะเป็นแบบไม่มีโครงสร้าง(unstructured situations) โดยจะมีการนำวิจารณญาณของมนุษย์กับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบในการตัดสินใจ • ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มาก่อน • ช่วยในการตัดสินในที่ต้องความรวดเร็วสูง
Management Information System 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support Systems-DSS ลักษณะของ DSS • จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน • นำเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็นข้อความและกราฟิก
Management Information System เปรียบเทียบ MRSและ DSS ปัจจัย MRS DSS -ประเภทของการตัดสินใจ -การตัดสินใจที่มีลักษณะกึ่ง มีโครงสร้าง (semi-structured decision) หรือมีโครงสร้าง -การตัดสินใจที่ไม่มีโครงสร้าง -ผู้ใช้(users) -บุคคล กลุ่มคน และองค์กร -องค์กร -ระบบจะพิมพ์รายงานออกมาตามระยะเวลาที่กำหนด จึงไม่ได้ให้ผลที่ต้องการทันที -onlineและ realtime -ระบบ(systems)
Management Information System เปรียบเทียบ MRSและ DSS ปัจจัย MRS DSS -ดึงข้อมูล(retrieve)จาก ฐานข้อมูล -การประมวลผล -ใช้โมเดล(Model) ในการวิเคราะห์ -กำหนดไว้ล่วงหน้า -เป็นรูปแบบของรายงานหรือเอกสาร -รูปแบบยืดหยุ่นตามความต้องการ -มีลักษณะโต้ตอบได้(interactive) -รายงานส่วนใหญ่อยู่บนหน้าจอ(Screen)ซึ่งสามารถพิมพ์ออกทางพรินเตอร์ได้ -เอาท์พุท
Management Information System 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ส่วนประกอบและโครงสร้างของ DSS • การจัดการข้อมูล(Data Management) • การติดต่อระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์(User Interface) • การจัดการโมเดล(Model management) • การจัดการกับความรู้(Knowledge management)
Management Information System ความสัมพันธ์ระหว่าง TPS,MRS และ DSS ฐานข้อมูล ของหน่วยงาน ฐานข้อมูล จากภายนอก ฐานข้อมูล ของธุรกรรม ที่ถูกต้อง ฐานข้อมูลของ แอพพลิเคชัน DSS ธุรกรรม TPS MRS EIS GDSS ฐานข้อมูล การปฏิบัติงาน รายงาน ที่มา:ปรับจากStair & Reynolds.(1999:391).
Management Information System 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ประเภทของ DSS • ระบบที่สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล(Executive Information Systems-EIS) • ระบบที่สนับสนุนการตัดสินใจของกลุ่ม(Group Decision Support Systems-GDSS) • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Systems-GIS) • ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert Systems-ES)
Management Information System 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร Executive Information Systems-EIS Executive Support Systems-ESS • เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ที่สนับสนุนการทำงานของผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะเรื่องที่มีความสำคัญขององค์กร หรือเรื่องทิศทางการดำเนินงานขององค์กร โดยทำให้การเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว • มีรูปแบบที่ใช้งานง่าย
Management Information System 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร หน้าที่ของEIS • ช่วยในการวางแผนกลยุทธ์ • ช่วยในการควบคุมเชิงกลยุทธ์(Strategic control) • การสร้างเครือข่าย(Networks) • ช่วยในการติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด • ช่วยในการจัดการกับวิกฤต(Crisis management)
Management Information System Executive Information Systems-EIS EIS ดาต้าแวร์เฮาส์ • วิเคราะห์/ตัดสินใจ • เจาะลึกข้อมูล • ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป • ใช้DSS และ AI • สารสนเทศจากภายใน • สารสนเทศจากภายนอก สามารถเข้าถึงสารสนเทศ ได้ทุกประเภท สนับสนุนการทำรายงาน ในลักษณะยืดหยุ่นและ เป็นเครื่องมือวิเคราะห์สารสนเทศ ช่วยผู้บริหารระบุปัญหา และสร้างโอกาส ที่มา:ปรับจากHaag et al.(2000:68).
Management Information System 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ความสามารถทั่วไปของEIS • การเข้าถึงดาต้าแวร์เฮาส์(Data Warehouse) • ใช้ความสามารถในการเจาะข้อมูล(Drill down) • การนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่มีความยืดหยุ่น • การเข้าถึงสารสนเทศที่หลากหลาย • การใช้โมเดลในการวิเคราะห์แนวโน้ม(Trend analysis)
Management Information System คุณสมบัติของ EIS • สนับสนุนการวางกลยุทธ์ และการวางแผนกลยุทธ์ • เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ โดยเฉพาะข่าวสารที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอก • มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง เนื่องจากต้องเกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน • ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน เนื่องจากผู้บริหารมีกิจกรรมที่หลาหลายหรืออาจจะกล่าวได้ว่าเวลาของผู้บริหารมีค่ามาก • พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
Management Information System ความสัมพันธ์ระหว่าง EIS กับ DSS • EIS - ผู้บริหารระดับสูง • DSS -ผู้บริหารระดับกลาง • EIS ออกแบบให้ง่ายต่อใช้งาน โดยมีตาราง กราฟ DSSจะให้ข้อมูลการตัดสินใจตามลักษณะงาน • ความแตกต่างในเรื่องของทักษะการใช้ระหว่าง EISและ DSS
Management Information System 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ • Group Decision Support Systems-GDSS • GDSS เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบคอมพิวเตอร์แบบโต้ตอบได้(interactive) ในการสนับสนุนงานแก้ปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง สำหรับผู้ตัดสินใจที่ทำงานเป็นกลุ่ม • เป้าหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการประชุมและการตัดสินใจ ทำให้รวดเร็วขึ้น • สนับสนุนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยกระตุ้นความคิด • ระดมความคิดและการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
Management Information System 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ • ประเภทของGDSS • แบบห้องการตัดสินใจ(Decision room) • การตัดสินใจโดยใช้เครือข่ายวงแลน(Local Area Decision) • การประชุมทางไกล(Teleconferencing) • เครือข่ายการตัดสินใจแบบ (Wide Area Decision Network –WAN)
Management Information System ประเภทของGDSS สูง Local area Decision networks Wide area Decision network ความถี่ในการ ตัดสินใจ Decision room Teleconferencing ต่ำ ใกล้ ไกล ระยะทางของผู้ตัดสินใจ
Management Information System 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ • ประโยชน์ของGDSS • ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการประชุมเพิ่มขึ้น • สร้างบรรยากาศของความร่วมมือ • การประเมินมีลักษณะเป็นวัตถุวิสัยมากขึ้น • ช่วยให้มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลภายนอกได้อย่างรวดเร็ว • ผลของการประชุมมีการบันทึกไว้