1 / 21

โครงการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ

โครงการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ. นายแพทย์สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข มิถุนายน 2557. เป้าหมายการดำเนินงาน. ลดภาระการจัดทำข้อมูลระดับปฏิบัติการ มีข้อมูลตามความจำเป็น ง่าย ไม่ซ้ำซ้อน ไม่เพิ่มภาระกับพื้นที่. ดำเนินการ 1 ตุลาคม 2557.

dawn-henson
Télécharger la présentation

โครงการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพโครงการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข มิถุนายน 2557

  2. เป้าหมายการดำเนินงาน • ลดภาระการจัดทำข้อมูลระดับปฏิบัติการ • มีข้อมูลตามความจำเป็น ง่าย ไม่ซ้ำซ้อน ไม่เพิ่มภาระกับพื้นที่ ดำเนินการ 1 ตุลาคม 2557

  3. ผลการทบทวนและข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพผลการทบทวนและข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ • สำรวจภาระงานการจัดเก็บข้อมูลเจ้าหน้าที่ในระดับ รพสต. (จังหวัดนนทบุรี,อุดรธานี,บุรีรัมย์ ) • ปรึกษาหารือกรมทุกกรมเพื่อเตรียการรองรับการพัฒนาระบบข้อมูล(10 เมย. 57) • ปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลในระดับจังหวัด ( 10 จังหวัด 29 เมย.57 ) • ปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลกับ สปสช.( 30 เมย.57) • จัดทำข้อเสนอหลักการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ • จัดทำแผนการพัฒนาให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือน (เริ่มดำเนินการ 1 ตค.57)

  4. สรุปประเด็นการสำรวจภาระงานการจัดเก็บข้อมูลในระดับ รพสต. (จังหวัดนนทบุรี ,บุรีรัมย์, อุดรธานี ) • การบันทึกข้อมูลในระบบ Electronic มีความจำเป็น สะดวกและรวดเร็วในในการประมวลผล วิเคราะห์ จัดทำสถิติรายงาน เก็บข้อมูลอย่างมีระเบียบ ง่ายต่อการตรวจสอบ รวดเร็วในการค้นหา • การบันทึกข้อมูล ใช้ 2 ระบบคู่กัน ระบบ Electronic และกระดาษ (OPD card)เพื่อเก็บเป็นหลักฐานอ้างอิงในการให้บริการทางการแพทย์ หลักฐานอ้างอิงทางกฏหมาย สะดวกเวลาออกพื้นที่

  5. การบันทึกข้อมูลที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ มากที่สุด ในระดับ รพสต. • งานคัดกรอง ภาวะซึมเศร้า ,คัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน และความดัน งานคัดกรองพัฒนาการเด็กตามแบบอนามัย 55 • บันทึกซ้ำซ้อน หลายโปรแกรม เช่น งานทันตกรรม (web online ยิ้มสดใส,SEALANT) คัดกรองมะเร็งปากมดลูก (pap regist.) เหตุผลสำคัญในการจัดเก็บข้อมูล • ส่งข้อมูลให้ สสจ.,สนย. และเบิกจ่ายงบประมาณจาก สปสช. • เก็บไว้เป็นหลักฐานสำหรับการดูแลประชากรอย่างต่อเนื่อง และการสืบค้นข้อมูลการให้บริการ และอ้างอิงการรายงาน • ส่งข้อมูลให้กับหน่วยกำกับที่อยู่เหนือขึ้นไป(CUP,สสอ.)

  6. ปัญหาและอุปสรรคในการบันทึกข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ในระดับ รพสต. • การเก็บความครอบคลุม กำหนดเป้าหมายไว้สูง เจ้าหน้าที่มีจำนวนจำกัด ทำได้ไม่ครอบคลุม • ขาดเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์และระบบงานโปรแกรม กรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่ชำนาญจะเป็นภาระ ยุ่งยาก • โปรแกรมออกแบบมาดีมีประโยชน์ แต่รายละเอียดมาก ในเรื่องเดียวต้องบันทึกหลายหน้าต่าง ต้องใช้เวลา เจ้าหน้าที่ไม่พอ ภาระงานกิจกรรมมีมาก

  7. ข้อเสนอในการลดภาระการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ ในระดับ รพ.สต. • ไม่ควรมีโปรแกรมอื่นๆ นอกจากโปรแกรมหลักที่ใช้ในสถานบริการ เช่น JHCIS, HosXP • โปรแกรมควรออกแบบระบบงานให้ง่ายต่อการใช้งานไม่ซ้ำซ้อน • ไม่ควรมีระบบรายงานอื่น นอกจากรายงาน 43 แฟ้ม ครอบคลุมอยู่แล้ว • การออกแบบรายงานใหม่ ขอให้ประมวลผลได้จากโปรแกรมหลัก จะได้ ไม่เพิ่มภาระกับเจ้าหน้าที่ • งานเร่งด่วน ต้องให้เวลาพื้นที่ เนื่องจากบุคลากรมีจำกัด • จัดหาอุปกรณ์ในการใช้บันทึกข้อมูลนอกสถานที่ ที่ใช้งานง่าย นำข้อมูล มาลงโปรแกรมได้ทันที

  8. สรุปประเด็นการปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลในระดับจังหวัด ( 10 จังหวัด :29 เมย.57 ) • นโยบาย set zeroจังหวัดเห็นควรยังคงเหลือระบบงานไว้ ให้เกิดประโยชน์กับพื้นที่ โดยให้ทำการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ และ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ • กำหนดแนวทางการทำงานแต่ละระดับส่งข้อมูลเป็นแบบไหน และกระทรวงจะใช้ข้อมูลแบบใด • เสนอให้มีการกำหนดข้อมูลที่เป็น individual ในระดับจังหวัด ส่วนกลาง ใช้ secondary dataที่เป็นตัวเลขรวม

  9. สรุปประเด็นการปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลในระดับจังหวัด ( 10 จังหวัด :29 เมย.57 ) • โปรแกรมในการจัดเก็บข้อมูลมีการส่งออกข้อมูลที่ผิดพลาด ส่วนหนึ่งมาจากการกำหนดเงื่อนไขการตรวจสอบของ สปสช. และความเข้าใจคลาดเคลื่อนของผู้พัฒนา • จัดประกวดแข่งขันความสามารถทางด้านเทคโนโลยี ให้เกิดการแลกเปลี่ยนและใช้งานร่วมกัน • กำหนดมาตรฐานเงื่อนไขในการประมวลผลออกรายงาน เป็นมาตรฐานกลาง ใช้เหมือนกันทั่วประเทศ

  10. สรุปประเด็นการปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลในระดับจังหวัด ( 10 จังหวัด :29 เมย.57 ) • ประเด็นเกี่ยวข้อง สปสช. • จัดเก็บข้อมูลเพื่อการรายงาน เพื่อนำรายได้จากสปสช.เข้าสู่หน่วยงาน มากกว่าส่งให้กระทรวง • จัดทำข้อมูลหรือตกแต่งข้อมูลเพื่อการแลกเงิน • กำหนดเงื่อนเวลาในการบันทึกข้อมูลและการส่งออก ทำให้ข้อมูลขาดความครบถ้วน

  11. ปรึกษาหารือการลดภาระการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ ในระดับ กรม (10 เมย 57) • กรมเห็นควรให้คงระบบ 43 แฟ้มไว้ โดยมีกระบวนการคัดเลือกรายงาน ที่จำเป็น • กรมรับไปพิจารณาระบบรายงานย่อยของหน่วยงานที่จัดเก็บในพื้นที่ เพื่อบูรณาการเข้าฐานกลางหรือยกเลิกถ้ามีอยู่ใน 43 แฟ้มแล้ว • ร่วมมือกันพัฒนาคุณภาพข้อมูล ความครบถ้วน ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  12. สรุปประเด็นการปรึกษาหารือระบบการจัดเก็บข้อมูลกับ สปสช. ( 30 เมย.57) • สปสช.เตรียมการรองรับข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม ในปีประมาณ 2558 • กำหนดแนวทางในการดำเนินงานร่วมกัน การกำหนดเงื่อนไขการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลเพื่อการจ่ายเงิน เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับกระทรวง ป้องกันการบิดเบือนข้อมูล • สปสช. เสนอให้มีมาตรการควบคุมคุณภาพของ soft ware ที่ใช้ ในสถานบริการ

  13. กรอบการดำเนินงาน • ทบทวนบทบาทการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ • แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงาน เพื่อการขับเคลื่อน • กำหนดแนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนปฏิบัติการระยะเร่งด่วนและปานกลาง

  14. แนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพแนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ • ยกเลิก การส่งข้อมูล Individual จากจังหวัดสู่ส่วนกลาง โดยข้อมูล Individual ใช้บริหารจัดการเฉพาะภายในจังหวัด • ส่วนกลาง และเขตบริการสุขภาพ รับข้อมูล summary ตาม Standard report ที่กำหนด • ยกเลิก โปรแกรมย่อย/ระบบรายงาน หรือเชื่อมโยงกับโปรแกรมหลัก ลดภาระการบันทึกซ้ำซ้อน • หน่วยบริหารแต่ละระดับ ตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก • 43 แฟ้ม คงไว้เป็นโครงสร้างมาตรฐานในการส่งออกและ การเชื่อมข้อมูล

  15. แนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ (ต่อ) • ผู้บริหารเจรจาทำความเข้าใจ ข้อตกลงกับ กรม และ สปสช.ในการปฏิรูประบบข้อมูล • พัฒนามาตรฐาน การจัดทำโปรแกรมและการเชื่อมโยงฐานข้อมูลสุขภาพ • พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศที่นำมาใช้ ให้อยู่ใน กรอบทิศทางและมาตรฐานเดียวกัน • ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน • บูรณาการข้อมูลทรัพยากรสุขภาพ (คน เงิน ของ) • จัดทำประกาศ/ระเบียบกระทรวงเรื่องระบบข้อมูลสารสนเทศ

  16. v

  17. (ร่าง) รูปแบบการรับ ส่งข้อมูล • Secondary/summary data • Analyze • Quality control ? กระทรวงสาธารณสุข สปสช. กรม • Secondary/summary data • Analyze • Quality control ระดับเขตบริการสุขภาพ • Individual data • Cleansing • Verify • Process • Analyze ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ • Individual data • Cleansing • Verify ? Track record Individual data - Input data รพสต./โรงพยาบาล

  18. ------------------------- • .............. • ............... ---------------------------- ----------------------------

More Related