1 / 33

สุขภาพจิต และการ ปรับตัว

สุขภาพจิต และการ ปรับตัว. สุขภาพจิต. ความสำคัญของสุขภาพจิต. การเพิ่มขึ้นของประชากร ทั้งการเปลี่ยนแปลงของสังคมส่งผลกระทบกระเทือนต่อจิตใจ ส่งผลให้สุขภาพจิตเสื่อมในรูปแบบต่างๆ. ปัญหาสุขภาพจิตในสังคมเมือง : การดื่มสุรา , ก่ออาชญากรรม.

dawson
Télécharger la présentation

สุขภาพจิต และการ ปรับตัว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุขภาพจิต และการปรับตัว

  2. สุขภาพจิต

  3. ความสำคัญของสุขภาพจิตความสำคัญของสุขภาพจิต การเพิ่มขึ้นของประชากร ทั้งการเปลี่ยนแปลงของสังคมส่งผลกระทบกระเทือนต่อจิตใจ ส่งผลให้สุขภาพจิตเสื่อมในรูปแบบต่างๆ ปัญหาสุขภาพจิตในสังคมเมือง : การดื่มสุรา , ก่ออาชญากรรม ปัญหาสุขภาพจิตในสังคมชนบท : เด็กขาดผู้ดูแล ผู้สูงอายุขาดผู้อุปการะ เพื่อให้บุคคลในสังคมสามารถดำเดินชีวิตได้อย่างมีความสุข จึงเป็นหน้าที่ของทุกคน ทุกฝ่าย ที่ต้องร่วมมือกันในการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต

  4. ความหมายของสุขภาพจิต องค์การอนามัยโลก (WHO)ได้ให้คำนิยามของสุขภาพจิตไว้ว่า.. “สุขภาพจิต หมายถึง ความสมบูรณ์ทางด้านจิตใจ ซึ่งปราศจากอาการของโรคจิต โรคประสาท หรือมีลักษณะผิดปกติอื่นๆ ทางจิตใจ และความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้โดยไม่มีข้อแย้งภายในจิตใจ ”

  5. ความหมายของสุขวิทยาจิตความหมายของสุขวิทยาจิต สุขวิทยาจิต เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของจิตวิทยาอปกติ ศึกษาเกี่ยวกับสภาพชีวิตที่เป็นสุข การทำจิตใจให้สมบูรณ์ ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ประสบปัญหา ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สภาพแวดล้อมให้สามารถ มีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข และมีประสิทธิภาพ

  6. ความแตกต่างของสุขภาพกายและสุขภาพจิต สุขภาพกาย สุขภาพจิต หมายถึง สุขภาพพลานามัยของบุคคลทางด้านร่างกาย ได้แก่ การมาร่างการแข่งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำหน้าที่การงานได้ตามปกติ ซึ่งต้องมีการป้องการบำรุงและรักษา • หมายถึง สุขภาพสมบูรณ์ทางด้านจิตใจ ไม่มีอาการโรคจิต โรคประสาท หรือพฤติการณ์ผิดปกติ สามารถปรับตัว ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

  7. “Jahoda”(จาโฮดา)ได้ให้แนวความคิดตลอดจนคุณสมบัติของผู้ที่สุขภาพจิตที่ดีมีดังนี้“Jahoda”(จาโฮดา)ได้ให้แนวความคิดตลอดจนคุณสมบัติของผู้ที่สุขภาพจิตที่ดีมีดังนี้ 1.ที่ทัศนคติต่อตนเอง มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง • 2. สร้างความเจริญให้เกิดขึ้นกับตนเอง • 3. มีกระบวนความคิด ความรู้สึก และ การกระทำที่สอดคล้องกัน • 4. สามารถที่จะสร้างความสัมพันธ์ต่อโลกภายนอก • 5. เข้าใจสภาพความเป็นจริง • 6. สามารถที่จะทำสิ่งต่างๆ เผชิญกับสถานการณ์แก้ไขปัญหาได้

  8. ประวัติความเคลื่อนไหวประวัติความเคลื่อนไหว ทางด้านสุขภาพจิตในประเทศไทย

  9. ประวัติความเคลื่อนไหวทางด้านสุขภาพจิตในประเทศไทยอย่างแท้จริงในสมัยรัชกาลที่ 5 โรงพยาบาทสำหรับคนไข้โรคจิตในประเทศไทยแห่งแรก คือ ที่คลองสานธนบุรี เปิดรับคนไข้ครั้งแรก 30 คน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 การดูแลรักษายังใช้วิธีโบราณ คือ กักขัง คนที่คลั่งถูกล่ามโซ่ตรวน ใช้เวทมนต์คาถา ใช้แพทย์แผนโบราณ ในปี พ.ศ. 2488 ได้ตั้งกองแพทย์สุขาภิบาลในกระทรวงนครบาล เรียกว่า โรงพยาบาลคนเสียจริตปากคลองสาน พ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงให้สร้างโรงพยาบาลขึ้นใหม่ มีการดูแลในเรื่องอาหาร การหลับนอนเลิกล่ามโซ่ตรวน นายแพทย์ผู้อำนวยการไทยคนแรก คือ หลวงวิเชียรแพทยาคม

  10. พ.ศ. 2495 ร่วมกับองค์การอนามัยโลก มีคลินิกสุขวิทยาจิตเพื่อตรวจรักษาโรคจิตและความผิดปกติของจิตใจของเด็ก พ.ศ.2496 ตั้งคลินิกสุขวิทยาจิตที่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ศึกษาเด็กที่มีอารมณ์แปรปรวน เพื่อเป็นการป้องกันโรคจิตและส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2497 ตั้งสมาคมจิตแพทย์ขึ้นในประเทศไทย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนและศึกษาวิชาการให้กว้างขวางยิ่งขึ้น พ.ศ. 2500 ขยายบริการสุขภาพจิตไปยังสถานสงเคราะห์แม่และเด็กสาธร ให้บริการเป็นประจำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  11. พ.ศ. 2502 จัดตั้งสมาคมสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยขึ้น มีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินงานในด้านส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิต พ.ศ. 2504 ตั้งคลินิกสุขวิทยาจิตที่อาคาร 9 ถนนราชดำเนิน เป็นคลินิกสุขวิทยาจิต สาขาที่ 2 พ.ศ. 2506 ตั้งคลินิกสุขวิทยาจิตที่โรงพยาบาลเด็ก เป็นคลินิกสุขวิทยาจิตสาขาที่ 3 พ.ศ. 2513 สร้างคลินิกสุขวิทยาจิต เป็นศูนย์ใหญ่

  12. องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต อิทธิพลของพันธุกรรม อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทางวัตถุ ทางสังคม ต่อมไร่ท่อ ยีน ระยะก่อนเกิด ทางวัฒนธรรม

  13. ความผิดปกติทางจิต เมื่อบุคคลประสบปัญหาทางด้านร่างกาย จิตใจ และสามารถ ที่จะแก้ปัญหาได้ ก็จะอยู่อย่างมีความสุข ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว บุคคลอาจจะใช้วิธีการหลายๆอย่าง บางครั้งเมื่อไม่สามารถแก้ปัญหา ได้โดยตรง ก็อาจใช้กลวิธีต่างๆช่วย บุคคลบางคนประสบปัญหาและ ไม่สามารถที่จะปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ก็จะทำให้ สุขภาพจิตเสื่อมลง

  14. ชนิดของความผิดปกติทางจิต แยกเป็นประเภทต่างๆดังนี้ การปรับตัวไม่ได้ โรคประสาท โรคจิต บุคลิกภาพแปรปรวน การเบี่ยงเบนทางเพศ

  15. การปรับตัว

  16. ความหมายของการปรับตัวความหมายของการปรับตัว การปรับตัวคือ การที่บุคคลสามารถสร้างหรือขัดเกลาพฤติกรรมให้เข้ากับแบบแผนของสังคม หรือสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ให้สามารถบรรลุถึงจุดมุ่งหมายที่ต้องการ ทำให้ชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ทั้งกายและจิตใจ ไม่เกิดผลเสียทั้งต่อตนเองและผู้อื่น

  17. ลักษณะของการปรับตัว การปรับตัวที่สมบูรณ์ การปรับตัวที่ไม่สมบูรณ์

  18. 1. ความคับข้องใจ คือ ความรู้สึกที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากความปรารถนาที่ถูกขัดขวาง ปัญหาของการปรับตัว มีสาเหตุ ดังนี้ สาเหตุส่วนบุคคล สาเหตุของสิ่งแวดล้อม

  19. 2. ความขัดแย้งในใจ คือ สภาวการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความขัดแย้งในตนเอง เกิดความหนักใน อึดอัดใจ ปัญหาของการปรับตัว มีสาเหตุของความขัดแย้งในใจที่สืบเนื่องมาจาก ดังนี้ ความต้องการส่วนบุคคล การเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง • การที่ต้องเผชิญความจริง การแสวงหาประโยชน์ส่วนคน ความปรารภนาทางเพศ

  20. 3. ความวิตกกังวล คือ ความไม่สบายใจซึ่งจะออกมาในรูปของความกลัว ปัญหาของการปรับตัว ความวิตกกังวล มีลักษะคล้ายกับความกลัว แต่มีข้อแตกต่าง คือ ความวิตกกังวลนั้น มีต้นตอมาจากภายในจิตใจ

  21. กลไกในการปรับตัว วิธีการเผชิญปัญหาหรือตอบโต้ปัญหาโดยอัตโนมัติ วิธีการใช้กลวิธานในการปรับตัว

  22. การร้องไห้

  23. การหัวเราะ

  24. การพูด

  25. การคิดอย่างรอบคอบ

  26. การแสดงหาแหล่งให้ความช่วยเหลือการแสดงหาแหล่งให้ความช่วยเหลือ

  27. การนอนหลับ และฝัน

  28. กลไกในการปรับตัว วิธีการเผชิญปัญหาหรือตอบโต้ปัญหาโดยอัตโนมัติ ประเภทต่อสู้ หรือเผชิญกับปัญหา วิธีการใช้กลวิธานในการปรับตัว ประเภทหลีกเลี่ยง หรือหนีปัญหา

  29. ประเภทต่อสู้หรือเผชิญกับปัญหาประเภทต่อสู้หรือเผชิญกับปัญหา การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง การทดแทน การโยนความผิดให้คนอื่น การกระทำที่ตรงข้ามกับใจ การย้ายอารมณ์ การเลียนแบบผู้อื่น การชดเชย การเมินเฉย การระบาย การเก็บกด

  30. ประเภทหลีกเลี่ยงหรือหนีปัญหาประเภทหลีกเลี่ยงหรือหนีปัญหา การแยกตนเอง การถดถอย การฝันเฟื่อง การหนีเข้าสู้สภาวะเจ็บปวด

  31. การแก้ไขปัญหาทางจิตวิทยาการแก้ไขปัญหาทางจิตวิทยา ประเมินสถานภาพ ของปัญหา พิจารณาหาแนวทางที่คาดว่า จะเป็นประโยชน์ ประเมินผลการแก้ปัญหา ปรับปรุงแก้ไข ดำเนินการแก้ปัญหา

  32. บั๊ย บาย >.<

More Related