1 / 16

แผนระงับเหตุฉุกเฉิน

แผนระงับเหตุฉุกเฉิน. TOC EMERGENCY RESPONSE PLAN. JUNE 25, 2004. 1. คำจำกัดความ :. เหตุฉุกเฉิน :. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ทั้งในพื้นที่ TOC และบริษัทใกล้เคียง อันอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล หรือความ

deanna
Télécharger la présentation

แผนระงับเหตุฉุกเฉิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนระงับเหตุฉุกเฉิน TOC EMERGENCY RESPONSE PLAN JUNE 25, 2004

  2. 1. คำจำกัดความ : เหตุฉุกเฉิน : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ทั้งในพื้นที่ TOC และบริษัทใกล้เคียง อันอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล หรือความ เสียหายต่อทรัพย์สิน หรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือธุรกิจ ของ TOC แบ่งเป็น เหตุฉุกเฉินจำแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ไฟไหม้ / ก๊าซไวไฟรั่ว / ระเบิด 2. ก๊าซพิษรั่ว 3. สารไวไฟ / สารเคมี หกล้น รั่วไหล ปริมาณมาก

  3. 2. ระดับความรุนแรงของเหตุฉุกเฉิน : ระดับ # 1 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต พิจารณาแล้วเห็นว่า เหตุการณ์จะไม่ขยายตัวออกไป สามารถควบคุม หรือระงับได้โดยฉับพลันด้วยพนักงานประจำกะ

  4. ระดับ # 2 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต พิจารณาแล้ว เห็นว่าเป็นเหตุการณ์รุนแรง ไม่สามารถควบคุมให้เข้าสู่สภาวะ ที่ปลอดภัยได้ภายในระยะเวลาอันสั้นด้วยพนักงานประจำกะ จำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนจากพนักงาน และผู้บริหาร ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับแผนฉุกเฉิน รวมทั้งความช่วยเหลือ จาก EMAG (ROC, NPC, ARC, VNT, PTT, ATC) ถ้าจำเป็น

  5. ระดับ # 3 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต หรือ EMERGENCY DIRECTOR ; ED พิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเหตุการณ์ที่รุนแรงมาก ไม่สามารถระงับได้ด้วยพนักงานและอุปกรณ์ของบริษัท รวมทั้ง ทีมดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงจาก EMAG หรือมีแนวโน้มจะส่ง ผลกระทบต่อสาธารณะชน จำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจาก หน่วยงานราชการ และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยเข้าสู่แผน ฉุกเฉินจังหวัดระยอง หมายเหตุ : เงื่อนไขการตัดสินใจประกาศเหตุฉุกเฉินระดับต่าง ๆ ให้พิจารณา ได้จาก “แนวทางการตัดสินใจประกาศระดับเหตุฉุกเฉิน”

  6. แนวทางการตัดสินใจประกาศระดับเหตุฉุกเฉิน (เงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง หรือ เงื่อนไขร่วมกัน) ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 1. จุดเกิดเหตุ ภายในโรงงาน ภายใน หรือ ภายใน หรือ ภายนอกโรงงาน ภายนอกโรงงาน (โรงงานข้างเคียง) (โรงงานข้างเคียง) 2. ผลการพิจารณาว่าขอบเขต/ ไม่ขยายตัว / ขยายตัว/ลุกลาม ขยายตัว/ลุกลาม บริเวณของพื้นที่เกิดเหตุ ไม่ลุกลาม 3. กำลังคนและอุปกรณ์ในการ - เฉพาะ พนง. กะ - พนง. กะ + ทีม - พนง.กะ + ทีม ระงับเหตุที่จะควบคุม (Operator, Lab สนับสนุนภายใน สนับสนุนภายใน เหตุการณ์ได้ Fire Station, และ/หรือ EMAG + EMAG + ทีม รปภ.) สนับสนุนภายนอก (ราชการ/เอกชน)

  7. ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 4. ระยะเวลาที่เหตุเกิดต่อเนื่อง สั้น ยาวนาน ยาวนาน 5. การบาดเจ็บ, เสียชีวิตจากเหตุที่เกิด ไม่มี มี มี 6. บุคคลภายนอกปฏิบัติงานอยู่ / อยู่ใน ไม่มี มี มี พื้นที่ จำนวนมาก เช่นผู้รับเหมา, Visitor 7. ที่จุดเกิดเหตุปรากฏให้เห็นควัน, ไม่ปรากฏ ปรากฏ ปรากฏ เปลวไฟ, ไอระเหย, เสียงดัง, การ รั่วไหลหกล้น (รางระบาย) ให้ ภายนอกเห็นได้

  8. ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 8. การ S/D Unit และ/หรือ S/D Plant ที่ ไม่มี มี มี กระทบกระบวนการผลิต ทำให้ต้องลดหรือ หยุดรับ – ส่ง Feed / Product 9. การเข้ามาของสื่อมวลชน, ข้าราชการ / ไม่มี มี มี เจ้าหน้าที่ของรัฐ, แรงกดดันจากโรงงาน ข้างเคียง 10. ความช่วยเหลือจากทีมสนับสนุน ไม่ต้องการ ต้องการ ต้องการ (ภายใน /ภายนอก)

  9. 3. ภาพรวมของการเข้าสู่แผนฯ (Principle) 1. ผู้ประสบเหตุกดปุ่มสัญญาณเตือนภัย หรืออุปกรณ์เตือนภัยอัตโนมัติทำงาน 2. เสียงสัญญาณเตือนภัยดัง เข้าสู่สภาวะเตรียมพร้อม 3. พนักงานห้องควบคุมประกาศเสียงตามสาย แจ้งข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการ ได้รับสัญญาณเตือนภัย 4. เจ้าหน้าที่จาก OPERATION / FIRE STATION ตรวจสอบหน้างาน 5. หน.กะฝ่ายการผลิตประเมินสถานการณ์ว่าไม่มีเหตุการณ์ / มีเหตุการณ์ระดับ EM 1, 2, 3 6. ถ้าไม่มีเหตุการณ์ หรือมีเหตุการณ์ระดับ EM 1 ประกาศเสียงตามสาย 7. ถ้ามีเหตุการณ์ระดับ EM 2, 3 ห้องควบคุมกดสัญญาณแจ้งเหตุเข้าสู่สภาวะ ฉุกเฉิน และห้องควบคุมประกาศเสียงตามสายแจ้งเหตุการณ์ - ผู้เกี่ยวข้องเข้าปฏิบัติหน้าที่ตามแผนระงับเหตุฉุกเฉิน - ผู้ไม่เกี่ยวข้องไปที่จุดรวมพลที่กำหนด หรือจุดรวมพลที่ใกล้ที่สุด (ยกเว้นกรณีก๊าซพิษรั่วให้เข้าภายในอาคารที่ใกล้ที่สุด รอฟังประกาศ)

  10. 4. ผังโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (Emergency Organization Chart) EMERGENCY DIRECTOR COMMAND ROOM OFFICER MANAGEMENT TEAM MUTUAL AID CO-ORDINATOR ONSCENE COMMANDER EMERGENCY ADVISOR COMMAND ROOM SECRETARY EMERGENCY CONTROLLER EXTERNAL SUPPORT TEAM INTERNAL SUPPORT TEAM - SECURITY TEAM - MATERIAL & TECHNICAL TEAM - MAINTENANCE TEAM - COORDINATION TEAM FIRE CHIEF FIRE LEADER- 1 FIRE LEADER- 2 FIRE LEADER -3 FIRE & RESCUE TEAM FIRE& RESCUE TEAM FIRE &RESCUE TEAM

  11. 5. สัญญาณเตือนภัย & ขั้นตอนปฏิบัติ (Warning Alarm & Action Step) AUTOMATIC (DETECTION) MANUAL (PUSH BUTTON) เสียง SIREN ประกาศ ตรวจสอบหน้างาน FAULT ALARM/ไม่มีเหตุการณ์ EM 1 : ระงับได้เอง EM : 2 ต้องการทีมสนับสนุนจาก TOC / EMAG EM : 3 ต้องเข้าสู่แผนฉุกเฉินจังหวัด AUDIBLE ALARM (CLEAR) ประกาศ EM 1 เหตุการณ์/สถานการณ์ AUDIBLE ALARM ประกาศผลการตรวจสอบ ส่ง SMS “EM 1” ประกาศ EM 2, 3 เหตุการณ์/สถานการณ์ ให้ทำอะไร ส่ง SMSรายงาน เมื่อเหตุการณ์ยุติ AUDIBLE ALARM (CLEAR) รายงาน INCIDENT/ACCIDENT ส่ง SMSรายงาน ส่ง SMSรายงาน

  12. 6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ตามลำดับ : จากล่างขึ้นบน) • EMERGENCY DIRECTOR ; ED • 1. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการผลิต • 2. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการบริหาร • 3. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • 4. ผู้จัดการฝ่ายการผลิต • 5. ผู้จัดการฝ่ายที่ปฏิบัติงานDuty Rota • 6. ผู้จัดการฝ่ายที่อยู่ในเหตุการณ์ • 7.SHIFT SUPERINTENDENT ON DUTY

  13. 6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ต่อ) • COMMAND ROOM OFFICER ; CO • 1. SECURITY & FIRE FIGHTING DIVISION MANAGER • 2. DAY SUPERINTENDENT • ON SCENE COMMANDER ; OC • 1. SHIFT SUPERINTENDENT ON DUTY • EMERGENCY ADVISOR ; EA • 1. SECURITY & FIRE FIGHTING SECTION MANAGER • 2. SHIFT SUPERINTENDENT (OFF SHIFT)

  14. 6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ต่อ) • MUTUAL AID CO-ORDINATOR ; MC • 1. SAFETY ENVIRONMENT & HEALTH DIVISION MANAGER • 2. SAFETY ENVIRONMENT & HEALTH SECTION MANAGER • 3. DUTY ROTA TEAM (DIVISION MANAGER) • 4. LAB SUPERVISOR ON DUTY

  15. 7. ระบบการสื่อสาร (Communication) - WARNING ALARM : SIREN & AUDIBLE ALARM - WALKIE - TALKIE : EMERGENCY CHANNEL - MOBILE TELEPHONE : DUTY ROTA TEAM - INTERCOM : RESTRICTED & ADMIN AREA - SMS (GROUPING) : M = MANAGEMENT R = DUTY ROTA TEAM C = ON CALL TEAM K = KEY MAN

  16. 8. การฝึกซ้อม 2 ครั้ง/ปี 9. การปรับปรุง / ทบทวน - อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - หลังจากซ้อมแผนฯ - หลังจากเกิดเหตุฉุกเฉิน (จริง)

More Related