1 / 33

PICBIT

PICBIT. ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรในฟาร์มเครือข่ายเกษตรกรแห่งชาติ. เนื้อหา. ชุดโครงการ (แผนการวิจัย) ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย วัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัย กลยุทธ์ของแผนงานวิจัย โครงการวิจัยย่อย และ ผู้ร่วมวิจัย งบประมาณของแผนงานวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.

deiondre
Télécharger la présentation

PICBIT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PICBIT ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรในฟาร์มเครือข่ายเกษตรกรแห่งชาติ

  2. เนื้อหา • ชุดโครงการ (แผนการวิจัย) • ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย • วัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัย • กลยุทธ์ของแผนงานวิจัย • โครงการวิจัยย่อย และ ผู้ร่วมวิจัย • งบประมาณของแผนงานวิจัย • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  3. แผนงานวิจัยระบบฐานข้อมูลสุกรแห่งชาติเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ในฟาร์มเครือข่ายเกษตรกรกรมปศุสัตว์แผนงานวิจัยระบบฐานข้อมูลสุกรแห่งชาติเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ในฟาร์มเครือข่ายเกษตรกรกรมปศุสัตว์ National Pig Database for Breeding and Improvement in DLD Network Farms of Thailand

  4. ความเป็นมา • ข้อมูลคือหัวใจของการพัฒนาในปัจจุบันและอนาคต • การพัฒนาข้อมูล คือการพัฒนางาน • ต่อยอดงานเดิม ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นไป • นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างเป็นรูปธรรม • ผ่านการระดมสมองจากการประชุมที่ปากช่อง(ต.ค.) • เสนอคณะกรรมการวิชาการ กบส เป็น ว1-ด

  5. สถานการณ์ปัจจุบัน • ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการวิชาการ กบส • ปรับปรุงจากโครงการเดี่ยวเป็นโครงการชุด • อยู่ระหว่างรอการพิจารณาจาก อนุกรรมการวิจัยกรม • เสนอของบประมาณ ปี 51- 54 • แต่เราจะทำเลยตั้งแต่บัด now

  6. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัยความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย • การปรับปรุงพันธุ์สุกรให้ก้าวหน้าทัดเทียมกับอารยะประเทศ • เทคโนโลยีที่เหมาะสม • พันธุศาสตร์เชิงปริมาณ • พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล • สถิติประยุกต์ชั้นสูง และ • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ • ลดการนำเข้าทั้งสุกรพันธุ์มีชีวิตและน้ำเชื้อจากต่างประเทศ • การนำเข้าปีละ 118 ล้านบาท

  7. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัยความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย • ต้องการความร่วมมือจากทุกฝ่ายเพื่อบริหารจัดการทรัพยากร • กรมปศุสัตว์ • มหาวิทยาลัยต่างๆและ • บริษัท เอกชน • เกษตรกร • โดยการจัดตั้ง “ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธ์สุกรแห่งชาติ” • Pig Information Center for Breeding and Improvement of Thailand (PICBIT)

  8. ศูนย์วิจัยฯ สถานีทดสอบฯ ฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย ฟาร์มเอกชน Market1 Market2 Market3 ศูนย์ข้อมูล การปรับปรุงพันธ์สุกรแห่งชาติ Pig Information Center for Breeding and Improvement of Thailand (PICBIT) Recording system Web interface Web interface Producers Breeding Experts Consumers Trt1, Trt2, Trt3… Trt1, Trt2, Trt3…. Pedigree MT-BLUP EBVs Economic weights a1, a2, a3….. Index1 Index2 Index3EBVs.

  9. rg (MT-BLUP) Selection Index หน่วยเป็น บาท หน่วยเดียวกับ trait • Index1 = a1EBV1+ a2EBV2+ a3EBV3 • Index2 = a1EBV1+ a2EBV2 • Example: • Sire Index = a1EBVadg + a2EBVbf + a3EBVfcr • DamIndex = a1EBVadg + a2EBVbf + a3EBVnba หน่วย เป็น ? h2ADG

  10. วัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัยวัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัย • เพื่อจัดตั้งศูนย์ PICBIT • เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรของประเทศไทย • โดยมุ่งเน้นการขยายฐานในฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย • เพื่อกำหนดแผนการปรับปรุงพันธุ์สุกรของประเทศ • ศึกษาวิจัยสร้างดัชนีการคัดเลือกพันธุ์ในระดับต่างๆ

  11. วัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัยวัตถุประสงค์หลักของแผนงานวิจัย • วิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมสุกรของไทย • วิเคราะห์คุณค่าผสมพันธุ์ของสุกรทั้งภาครัฐและเอกชน • เพื่อผลิตและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางวิชาการ การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์สุกร • เพื่อทำหน้าพิจารณาออกใบรับรองพันธุ์ประวัติสุกร

  12. กลยุทธ์ของแผนงานวิจัยกลยุทธ์ของแผนงานวิจัย • จัดทำฐานข้อมูลสุกรเพื่อรองรับข้อมูลสุกรที่จะมาเข้าร่วมกับโครงการ • สำรวจและกำหนดคุณสมบัติของฟาร์มเครือข่าย • กำหนดเงื่อนไขการเป็นสมาชิกและรับสมัครฟาร์มเครือข่ายเอกชนเข้าร่วมโครงการ • กำหนดรูปแบบการใช้พันธุ์สัตว์ร่วมกัน เพื่อให้มีความเชื่อมโยงทางพันธุกรรมระหว่างสัตว์ในฟาร์มของกรมปศุสัตว์และฟาร์มเครือข่าย

  13. กลยุทธ์ของแผนงานวิจัยกลยุทธ์ของแผนงานวิจัย • จัดทำมาตรฐานคู่มือ • การปฏิบัติการเลี้ยงและ • การทดสอบสุกรในฟาร์มของรัฐบาลและเอกชนให้สอดคล้องกัน • กำหนดมาตรฐานรูปแบบการจดบันทึกข้อมูลการผลิตและการสืบพันธุ์และพันธุ์ประวัติ • กำหนดมาตรฐานรหัสบันทึกประจำตัวสัตว์ รหัสฟาร์มและรหัสพันธุ์

  14. กลยุทธ์ของแผนงานวิจัยกลยุทธ์ของแผนงานวิจัย • ดำเนินการประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรม • ประมาณคุณค่าการผสมพันธุ์โดยใช้เทคโนโลยี BLUP และ • รายงานผลคุณค่าการผสมพันธุ์ (EBVs) และดัชนีการคัดเลือก (index) ให้ฟาร์มเครือข่ายโดยตรงและลงข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต • การให้คำแนะนำในการจัดคู่ผสมพันธุ์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ • จัดทำ sire summary เป็นราย 3 เดือน และสรุปรวมปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้เกษตรกรฟาร์มเครือข่ายใช้ประโยชน์ข้อมูลคุณค่าการผสมพันธุ์และดัชนีการคัดเลือกพันธุ์ของสุกรพ่อแม่พันธุ์จากโครงการ

  15. กลยุทธ์ของแผนงานวิจัยกลยุทธ์ของแผนงานวิจัย • พิจารณาออกใบรับรองพันธุ์ประวัติสุกรเมื่อมีการร้องขอ • ประชุมเครือข่ายปีละ 1 ครั้งเพื่อประเมินผลและปรับปรุงระบบการทำงาน • ประชาสัมพันธ์และขยายจำนวนฟาร์มเอกชนเครือข่าย ให้เพิ่มมากขึ้น • ประเมินความก้าวหน้าและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสุกรที่เข้าร่วมโครงการปีละ 1 ครั้ง

  16. การพัฒนาฐานข้อมูล PICBIT โครงการย่อยที่ 1 ประมาณค่า genetic parameters โครงการย่อยที่ 2 และ 3 - ข้อมูลการผลิต - ข้อมูลพันธุ์ประวัติประวัติ การวิเคราะห์ EBVs โดยเทคนิค Multi trait BLUP ใช้ parameters จาก โครงการย่อยที่ 2 และ 3 • การทบทวนและปรับปรุง • 1 ค่า genetic parameters • ดัชนีการคัดเลือก การพัฒนาดัชนีการคัดเลือก (selection indices) โครงการย่อยที่ 4 การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์สุกร การประเมินผลตอบสนองต่อการคัดเลือก โครงการย่อยที่ 5 และ 6

  17. ฟาร์มเกษตรกรเครือข่ายฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่ ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรภาคเหนือ (PICBIN) สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์ ฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์ กลุ่มวิจัยและพัฒนาสัตว์เล็ก กองบำรุงพันธุ์สัตว์ ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรแห่งชาติ (PICBIT) ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ทับกวาง ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรภาคกลาง (PICBIC) ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์นครราชสีมา ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรภาคอีสาน (PICBINE) ฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์ ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์สุราษฎร์ธานี ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สุกรภาคใต้ (PICBIS) ฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย การส่งข้อมูล สมรรถภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ และพันธุ์ประวัติสุกร การส่งผลการวิเคราะห์ ค่า EBVs และค่าดัชนีการคัดเลือก สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์

  18. ผู้รับผิดชอบโครงการ • นายแสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์ หัวหน้าโครงการวิจัย • นายไพจิตร อินตรา ผู้ร่วมวิจัย • นางวโรชา จำปารัตน์ ผู้ร่วมวิจัย

  19. คณะที่ปรึกษาโครงการ นายยอดชาย ทองไทยนันท์ ผชช นางสาวจิรพรรณ นพวงศ์ ณ อยุธยา หัวหน้ากลุ่มวิจัยฯ นายสัมฤทธิ์ แสนบัว ผอ, ศูนย์วิจัยฯ นายสุวิทย์ อโนทัยสินทวี นวก,สบ. 8 ว. นายวิศาล ศรีสุริยะ นวก,สบ. 8 ว. นายจงเจษฎ์ ศรีกระจ่าง นวก,สบ. 8 ว. นายประภาส มหินชัย นวก,สบ. 8 ว. นายกมล ฉวีวรรณ นวก,สบ. 6 ว.

  20. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ผลสำเร็จกึ่งกลาง (intermediate results) • เกิดการพัฒนาพันธุ์สุกรภายในประเทศอย่างรวดเร็ว • มีการพัฒนาพันธุกรรมสุกรตรงกับความต้องการของตลาดต่างๆ • มีการกระจายสุกรพันธุ์ดีลงสู่เกษตรกรอย่างเพียงพอและทั่วถึง • มีการกำหนดราคาซื้อขายสุกรตามคุณค่าการผสมพันธุ์และดัชนีการคัดเลือกเป็นหลัก

  21. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ (goal results) • ประเทศไทยลดการนำเข้าสุกรพ่อแม่พันธุ์และน้ำเชื้อสุกรจากต่างประเทศ • ประเทศไทยมีสุกรพันธุ์ที่ดีพอสำหรับการส่งออกไปขายต่างประเทศ

  22. เมื่อก่อน GGP

  23. ฟาร์มเครือข่ายเอกชน ฟาร์มเครือข่ายเอกชน อนาคต GGP

  24. รุ่นแรก Truncation point ผลที่คาดว่าจะได้รับ “การคัดเลือกที่จุด Truncation สัดส่วนพ่อแม่ตาม รุ่นอายุเหมาะสม” รุ่นต่อๆไป Index (บาท)

  25. Thank you

More Related