1 / 39

การพัฒนา HIVQUAL_t จังหวัดบุรีรัมย์

การพัฒนา HIVQUAL_t จังหวัดบุรีรัมย์. ศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์. การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์. หลักวิชา (Principle). 3. เสนอทางเลือก - ถูกต้อง + เหมาะสม - มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง. Empirical Decision. นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ.

dennis
Télécharger la présentation

การพัฒนา HIVQUAL_t จังหวัดบุรีรัมย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนา HIVQUAL_tจังหวัดบุรีรัมย์ ศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์

  2. การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์ หลักวิชา (Principle) 3. เสนอทางเลือก - ถูกต้อง + เหมาะสม - มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง Empirical Decision นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ ประสบการณ์ ที่ต่าง ๆ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง สรุปบทเรียน (situation analysis) Act CHECK 1. ระบุปัญหา -ความสำคัญ/ประเด็นที่สนใจ 2. วิเคราะห์สาเหตุ - Root cause analysis (RCA) Policy Link เชื่อมนโยบาย ข้อมูลน่าจะมีประโยชน์ ผล วางระบบ (PLAN) Do เดิมมีอะไรบ้าง จะใช้ประโยชน์อะไรบ้าง

  3. กระบวนการพัฒนา • โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเอง ตามแบบประเมิน • อบรมการเก็บข้อมูล ปี 2549 ขยายทุกโรงพยาบาล • การนำเสนอข้อมูล HIVQUAL_t ที่จังหวัดมุกดาหาร เมื่อ ปี 2549

  4. แนวทางในการดูแลผู้ติดเชื้อในโรงพยาบาลคูเมืองแนวทางในการดูแลผู้ติดเชื้อในโรงพยาบาลคูเมือง ผู้ติดเชื้อ ส่งต่อ OPD. พบแพทย์ CGS. แยกกลุ่ม ห้องปฏิบัติการ มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย - Lab : CD4,CBC.,SGPT.,CXR. PV. , Pap smear - คัดกรอง TB. 100 % พบแพทย์ ส่ง CGS. ประสานงานตามกลุ่ม CD4 < 200 (OI / ARV) CD4 > 200 รักษาตามแนวทางการดูแลผู้ติดเชื้อ นัดติดตาม ตามโครงการ NAP ที่ OPD TB. Positive ส่งประสานงานกับทีมดูแล TB.

  5. ระบบการประสานงานให้บริการผู้ติดเชื้อระบบการประสานงานให้บริการผู้ติดเชื้อ แพทย์ ดูแลโครงการ CARE,PHIMTขณะAdmit LR LAB LR แพทย์ผู้ดูแลผู้ติดเชื้อฯ สสจ. ตรวจ,ติดตามชันสูตร ประสานงานการตรวจ สสจ./รพศ. IPD ผู้รับบริการ สารสนเทศ ดูแลผู้ติดเชื้อ ที่นอน รพ.,Csg. โรงเรียน โครงการพิเศษ,ประสานงาน หน่วยงานภายนอก,ทักษะชีวิต,ให้ความรู้ เวชสถิติ TB อบต. PCU จัดทำข้อมูล,จัดเก็บข้อมูลรายงานประจำเดือน, ข้อมูลNAP, supportการทำงาน OPD เยี่ยมบ้าน ประสานงาน เภสัชกร ให้การปรึกษาเรื่องการใช้ยา,ติดตามประเมินการกินยา แพ้ยา ,ข้อมูลยาของผู้รับบริการ พยาบาลผู้ประสานงานเอดส์/รับผิดชอบคลินิกARV Csg.ให้คำปรึกษา,คัดกรองผู้ติดเชื้อ ติดตามดูแลผู้ติดเชื้อ

  6. การพัฒนาคุณภาพบริการ SQIService quality ImprovementFor Aids ,TB and STI • โรงพยาบาลทุกแห่งได้งบประมาณสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพบริการจาก สปสช. จังหวัดบุรีรัมย์ได้รับทั้งสิ้น 4,023,000 บาท และมีขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพบริการในโรงพยาบาลต่าง ๆ ดังนี้ • ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหา และกำหนดแนวทางในการพัฒนาบริการ ด้านเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินความต้องการ และกำหนดรูปแบบในการพัฒนา ตามบริบทของแต่ละแห่ง • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ติดตามประเมินโครงการ

  7. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลมาใช้ ปี 2551วันที่ 18 -19 มิถุนายน 2551 • มีการดำเนินการศึกษา 7 เรื่อง • ปัจจัยส่งเสริมการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี โดยสมัครใจ (VCT) • ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวี • การศึกษาและติดตามผลการรักษา การเกิดภาวะ Lipodystrophy ในผู้ป่วยเอดส์ที่ใช้ยา Starudine เป็นส่วนประกอบ

  8. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลมาใช้ ปี 2551วันที่ 18 -19 มิถุนายน 2551 • ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วย • ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในหญิงอายุน้อยกว่า 18 ปี • ภาวการณ์เกิดโรควัณโรคในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ โดย ความร่วมมือจาก กรมควบคุมโรค สปสช. สคร.5 โรงพยาบาลทุกแห่ง สสจ.บุรีรัมย์ วิทยากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  9. ผลการวิเคราะห์HIVQUAL-t

  10. จำนวนผู้ป่วยที่ทำการสุ่มจำนวนผู้ป่วยที่ทำการสุ่ม

  11. ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ CD4 ( 68.6 %) ( 79.7 %) ( 63.2 %) ( 46.9%)

  12. ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

  13. จำนวนผู้ป่วยที่มีค่า CD4>350 ได้รับการตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน ( 56. 8 %) ( 48.5%)

  14. จำนวนผู้ป่วยที่มีค่า CD4<350 ไม่ได้รับยาARV ได้รับการตรวจ CD4 ทุก2-4เดือน ( 20.1%) ( 36.0 %)

  15. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ( 65.4 %) ( 60.1%)

  16. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งใน 6 เดือน ( 23.4 %) (2.1%)

  17. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (13.7%) (1.3%)

  18. จำนวนผู้ป่วย(CD4 <=200 หรือ ALC<=1000 ที่ได้รับยาป้องกัน PCP (87.9%) (87.9%)

  19. จำนวนผู้ป่วย(CD4 <=100 หรือ ALC<=600 ที่ได้รับยาป้องกัน PCP (82.9%) (83.1%)

  20. จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับยา ARV (55.9%) (54.3%)

  21. จำแนกตามชนิดยา ปี 2550

  22. การให้ยาต้านไวรัส (81.9%) (72.8%) (เข้าเกณฑ์ หมายถึง CD4<=200, CD4=250 มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ ALC<1000)

  23. การให้ยาต้านไวรัส-กินยาสม่ำเสมอการให้ยาต้านไวรัส-กินยาสม่ำเสมอ (97.0%) (95.5%)

  24. ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้าน และได้รับการติดตาม (94.6%) (81.2%)

  25. การคัดกรองวัณโรค จำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTB (7.7%) (11.8%)

  26. จำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการรักษาหรือติดตามจำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการรักษาหรือติดตาม (98.8%) (98.8%)

  27. จำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองวัณโรคจำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองวัณโรค (71.1%) (72.4%)

  28. จำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการคัดกรองวัณโรค (91.8%) (82.0%)

  29. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคและจำนวนที่ติดตามรักษาจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคและจำนวนที่ติดตามรักษา

  30. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่อง Safe Sex (92.9%) (74.7%)

  31. จำนวนคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (88.7%) (89.1%)

  32. จำนวนคู่นอนประจำของผู้ป่วยไม่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (8.0%) (89.1%)

  33. จำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และได้รับแจกถุงยางอนามัยจำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และได้รับแจกถุงยางอนามัย (98.1%) (96.3%)

  34. จำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัยจำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัย (90.0%) (87.0%)

  35. จำนวนป่วยที่สุ่มตัวอย่างและเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิสจำนวนป่วยที่สุ่มตัวอย่างและเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส (9.6%) (21.6%)

  36. จำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิสจำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส (31.0%) (7.3%)

  37. จำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ (60.6%) (60.8%) (44.6%) (29.6%) (44.6%) (5.7%)

  38. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ (23.7%) (22.9%) (8.7%) (7.4%)

More Related