170 likes | 248 Vues
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย. อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2542 -2555. 7 อันดับแรกของจังหวัดที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูง. เปรียบเทียบร้อยละของจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายจำแนกตามภูมิลำเนาและตายตามจังหวัดที่เสียชีวิต. ภาคเหนือ : อัตราการฆ่าตัวตาย. ภาคเหนือ : จำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ.
E N D
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทยสถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2542 -2555
7 อันดับแรกของจังหวัดที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูง
เปรียบเทียบร้อยละของจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายจำแนกตามภูมิลำเนาและตายตามจังหวัดที่เสียชีวิตเปรียบเทียบร้อยละของจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายจำแนกตามภูมิลำเนาและตายตามจังหวัดที่เสียชีวิต
ภาคเหนือ : อัตราการฆ่าตัวตาย
ภาคเหนือ : จำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.เชียงใหม่ • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( มี.ค – เม.ย) หญิง ( พ.ค.และ ส.ค ) • ชาย > หญิง ร้อยละ 84.5 • กลุ่มอายุ 25-29 ปี ( 17.2% ) 30 -34 ปี และ 35-39 ปี ( 11.8 %) • สัญชาติ ไทย 96.4 % • สถานภาพ : โสด 40.9 % คู่ 37.3 % • กลุ่มอาชีพ : ผู้ใช้แรงงาน 54.1 % • วิธีการ : ผูกคอ 58.2 กินยาฆ่าแมลง 23.2 • ตายตามภูมิลำเนา : 207 คน ( จอมทอง เชียงดาว )
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.ลำพูน • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( มิ.ย , พ.ย ) หญิง (ก.ย. และ ก.ค. ) • ชาย > หญิง ร้อยละ 77.08 • กลุ่มอายุ 50-54 ปี ( 18.8% ) 40-44 ปี (14.6 ) และ 30-34ปี ( 8.3 %) • สัญชาติ ไทย 100 % • สถานภาพ : คู่ 43.8 % โสด 37.5 % • กลุ่มอาชีพ : รับจ้าง 45.8% ทำสวน 8.3 % • วิธีการ : ผูกคอ 35.4 กินสารเคมี 20.8
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.น่าน • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( มิ.ย , ก.ค ) หญิง (เม.ย. และ พ.ค. ) • ชาย > หญิง ร้อยละ 70.8 • กลุ่มอายุ 35-39 ปี ( 13.9% ) 50-54ปี ( 12.5 %) และ45-49 ปี (11.1%) • สัญชาติ ไทย 100 % • สถานภาพ : โสด 43.1 % คู่ 38.9 % • กลุ่มอาชีพ : เกษตรกรรม 26.4% รับจ้าง 19.4 % ทำไร่ 16.7 % • วิธีการ : ผูกคอ 25.0 กินสารเคมี 18.1 ปืน 4.2
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.ลำปาง • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( ม.ค , ก.ย.) หญิง (มี.ค. และ พ.ย ) • ชาย > หญิง ร้อยละ 75.7 • กลุ่มอายุ 25-29 ปี ( 14.3% ) 35-39 ปี , 45 – 49 ปี และ 55-59 ปี ( 12.9 % ) • สัญชาติ ไทย 100 % • สถานภาพ : โสด 48.6 % คู่ 38.6 % • กลุ่มอาชีพ : ทำนา 22.9% ค้าขาย 5.7 % รับจ้าง 4.4 % • วิธีการ : ผูกคอ 54.3 กินสารเคมี 21.4
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.แพร่ • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( ธ.ค , ก.ย ) หญิง ( ก.พ.และเม.ย. ) • ชาย > หญิง ร้อยละ 78.3 • กลุ่มอายุ 30-34 ปี ( 17.4% ) 55-59ปี ( 13.0 %) และ40-44 ปี (10.9%) • สัญชาติ ไทย 100 % • สถานภาพ :คู่ 50.0 %โสด 34.8 % • กลุ่มอาชีพ : รับจ้าง 41.3% ทำนา 17.4 % ทำไร่ 8.7 % • วิธีการ : ผูกคอ 37.0 กินยาฆ่าแมลง 28.3 ปืน 6.5
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.พะเยา • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( ม.ค , มิ.ย ) หญิง (เม.ย. และ ส.ค) • ชาย > หญิง ร้อยละ 79.2 • กลุ่มอายุ 45-49 ปี ( 14.6% ) 50-54ปี และ 55-59 ปี ( 12.5%) และ30-34 ปี (10.4%) • สัญชาติ ไทย 95.8 % • สถานภาพ :คู่ 45.8%โสด 33.3 % • กลุ่มอาชีพ : ทำนา 50.0% รับจ้าง 20.8 % ทำไร่ 6.3 % • วิธีการ : ผูกคอ 43.8 กินสารเคมี 8.3
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.เชียงราย • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( เม.ย , ก.ย ) หญิง (ก.พ.และ มี.ค.) • ชาย > หญิง ร้อยละ 74.1 • กลุ่มอายุ 45-49 ปี ( 15.1% ) 50-54ปี ( 11.4% ) และ 55-59 ปี ( 9.6 %) • สัญชาติ ไทย 99.4 % • สถานภาพ :โสด 41.6 %คู่ 33.1 % • กลุ่มอาชีพ : ทำนา 29.5% รับจ้าง 27.7 % ทำไร่ 12.7 % • วิธีการ : ผูกคอ 43.8 กินสารเคมี 8.3
ลักษณะการฆ่าตัวตาย จ.แม่ฮ่องสอน • เดือนที่พบการฆ่าตัวตายได้บ่อย : ชาย ( พ.ค ,ต.ค) หญิง (ม.ค และ ส.ค.) • ชาย > หญิง ร้อยละ 61.8 • กลุ่มอายุ 55-59 ปี ( 8.8% ) 30-34ปี ( 11.8% ) และ 35-39 ปี ( 8.8 %) • สัญชาติ ไทย 99.1 % • สถานภาพ: คู่ 55.9 % โสด 23.5 % • กลุ่มอาชีพ : เกษตรกรรม 29.4 % รับจ้าง 20.6 % ทำไร่ 2.9 % • วิธีการ : ผูกคอ 32.8 % กินสารเคมี 29.2 % และกินยา 8.8 %
เปรียบเทียบจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตาย ตามสถานที่ ภูมิลำเนา ปี 2555
ด้วยความขอบคุณ จากทีม Suicidethai.com