1 / 47

ดร. จักรพรรดิ วะทา 18 ต.ค. 49

การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป. ดร. จักรพรรดิ วะทา 18 ต.ค. 49. ขอบเขตเนื้อหา. 1. ยุคปฏิรูปกับการบริหารจัดการ - การปฏิรูปการบริหารจัดการ - การปฏิรูปการศึกษา - การปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2549 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป

Télécharger la présentation

ดร. จักรพรรดิ วะทา 18 ต.ค. 49

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป ดร. จักรพรรดิ วะทา 18 ต.ค. 49

  2. ขอบเขตเนื้อหา 1. ยุคปฏิรูปกับการบริหารจัดการ - การปฏิรูปการบริหารจัดการ - การปฏิรูปการศึกษา - การปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2549 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป - บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ - การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป

  3. ขอบเขตเนื้อหา (ต่อ) 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา - สมรรถนะผู้บริหาร - สมรรถนะผู้บริหารการศึกษา - มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา - คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - การบริหารแบบพัฒนาคน

  4. วิชาชีพทางการศึกษา 1. วิชาชีพครู 2. วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา 3. วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 4. วิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง (ศึกษานิเทศก์)

  5. 1. ยุคปฏิรูปกับการบริหารจัดการ 1. การปฏิรูปการบริหารจัดการ - ระบบราชการ - รูปแบบ / วิธีการบริหารจัดการ - นวัตกรรมการบริหารจัดการ 2. การปฏิรูปการศึกษา - ระบบบริหารจัดการการศึกษา - ครูและบุคลากรทางการศึกษา - การจัดการเรียนการสอน 3. การปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.2549

  6. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 1.บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ 1) สภาพที่ไม่แน่นอน (C A D) 2) แรงผลักดัน 3 C‘S 3) แนวคิดใหม่ทางการบริหาร 4) ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี

  7. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 1. บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ 1) สภาพที่ไม่แน่นอน (C A D) C = Changes A = Ambiguity D = Diversity

  8. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 1. บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ 2) แรงผลักดัน 3 C‘S C1 = Customers C2 = Competition C3 = Communication

  9. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 1.บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ 3) แนวคิดใหม่ทางการบริหาร • การกระจายอำนาจ (Decentralization) • การมีส่วนร่วม (Participation) • การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) • การมีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน (Competency of Work)

  10. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 1.บริบทที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ 4) ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี •Telecommunication •Computers •Management Innovation

  11. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 2. การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป 1) การกระจายอำนาจทางการศึกษา 2) คุณภาพการศึกษา 3) การบริหารบุคลากรทางการศึกษา 4.) แนวทางการบริหารจัดการการศึกษา

  12. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 2. การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป 1) การกระจายอำนาจทางการศึกษา • สถานศึกษา • เขตพื้นที่การศึกษา • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  13. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 2. การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป 2) คุณภาพการศึกษา • คุณภาพการจัดการเรียนรู้ • กิจกรรมเสริมการศึกษา • แหล่งการเรียนรู้ • องค์กรแห่งการเรียนรู้

  14. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 2.การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป 3) การบริหารบุคลากรทางการศึกษา • กำหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุม • กำหนดระบบตำแหน่ง เงินเดือน เงินวิทยฐานะ • กำหนดสิทธิประโยชน์ตอบแทนอื่น

  15. 2. การบริหารจัดการยุคปฏิรูป 2. การบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูป 4) แนวทางการบริหารจัดการการศึกษา • การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management) • โรงเรียนเป็นนิติบุคคล • การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  16. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร 2. สมรรถนะผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา

  17. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร •สมรรถนะหลักของข้าราชการประกอบด้วย 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) 2) การบริการที่ดี (Service Mind) 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญ (Expertise) 4) จริยธรรม (Integrity) 5) ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork)

  18. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร •สมรรถนะประจำกลุ่มงานประกอบด้วย 1) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) 2) การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) 3) การพัฒนาศักยภาพคน (Caring + Developing 0thers) 4) การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ (Holding people Accountable) 5) การสืบเสาะแสวงหาข้อมูล (Information Seeking)

  19. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร •สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (ต่อ)ประกอบด้วย 6) ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) 7) ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal Understanding) 8) ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ (Organizational Awareness) 9) การดำเนินการเชิงรุก (Proactive ness) 10) ความถูกต้องของงาน (Concern for order)

  20. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร •สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (ต่อ)ประกอบด้วย 11) ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence) 12) ความยืดหยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) 13) ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication Influencing) 14) สภาวะผู้นำ (Leadership) 15) สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetics)

  21. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. สมรรถนะผู้บริหาร •สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (ต่อ)ประกอบด้วย 16) ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) 17) ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal Understanding) 18) ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ (Change Leadership) 19) การควบคุมตนเอง (self Control) 20) การให้อำนาจแก่ผู้อื่น (Empowering other)

  22. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 2. สมรรถนะผู้บริหารการศึกษา •สมรรถนะหลักประกอบด้วย 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) การบริการที่ดี 3) การพัฒนาตนเอง 4) การทำงานเป็นทีม

  23. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 2. สมรรถนะผู้บริหารการศึกษา (ต่อ) •สมรรถนะในการปฏิบัติงานประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ 2) การสื่อสารและการจูงใจ 3) การพัฒนาศักยภาพบุคคล 4) การมีวิสัยทัศน์

  24. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3.มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานความรู้และประสบการวิชาชีพ มีความรู้ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา และต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการบริหารตามที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน หรือด้านปฏิบัติการสอนและการบริหารเป็นไปตามที่กำหนดใน ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณขอวิชาชีพ

  25. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน 1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่ จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน 3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงาน ได้เต็มศักยภาพ

  26. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน (ต่อ) 4. พัฒนาแผนงานขององค์การให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มี คุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ 6. ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร 7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ

  27. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน (ต่อ) 8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 9. ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์ 10. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11. เป็นผู้นำและสร้างผู้นำ 12. สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์

  28. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อตนเอง - จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ - จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ - จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ - จรรยาบรรณต่อสังคม

  29. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อตนเอง 1. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

  30. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

  31. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 3. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า 4. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตาม บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ

  32. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ) 5. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนเป็น แบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ 6. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็น ปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ของศิษย์และผู้รับบริการ

  33. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ) 7. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความ จริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์ จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

  34. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 8. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความ สามัคคีในหมู่คณะ

  35. 3. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) -จรรยาบรรณต่อสังคม 9. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติตนเป็นผู้นำ ในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข

  36. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. การบริหารแบบพัฒนาคน

  37. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1) การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) 2) การเป็นนักกลยุทธ์ (Strategist) 3) การสร้างคุณลักษณะทางวิชาชีพ (Professional / Educational Profession )

  38. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 1.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1) การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ต้องมีสมรรถนะ กลยุทธ์ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมการทำงานเชิงคุณภาพ

  39. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 1.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2) การเป็นนักกลยุทธ์ (Strategist) การสร้างวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพ การบริหารความเสี่ยง การตัดสินใจในภาวะวิกฤติ การมอบอำนาจการบริหาร (การสร้างผู้บริหารใหม่)

  40. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 1.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3) การการสร้างคุณลักษณะทางวิชาชีพ (Professional / Educational Profession) คุณลักษณะทางวิชาชีพ มาตรฐานตำแหน่ง และวิทยฐานะ รู้จริง ทำได้จริง

  41. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน ระบบบริหารแบบการพัฒนาคน ปัจจัยกระบวนการผลผลิต

  42. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน 1) ปัจจัย การสร้างศักยภาพและมีปัจจัยส่งเสริมสนับสนุน - การศึกษาอบรม - การเสนอผลงาน - การร่วมพัฒนา - การใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า

  43. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน 2) กระบวนการพัฒนา 2.1) บทบาทผู้บริหาร ทำงานโดยตรงกับครูเพื่อส่งผลโดยตรงถึงนักเรียน พัฒนาวิชาชีพครูให้ครูจัดการเรียนรู้ 2.2) รูปแบบการพัฒนา สั่งการ สนับสนุนส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้ครูเป็นผู้นำพัฒนา

  44. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน 2) กระบวนการพัฒนา 2.3) วิธีการ การจัดการ โดยลงมือทำงานกับครูโดยตรง การสร้างบรรยากาศ โดยทำงานกับครูโดยทางอ้อม พัฒนาวัฒนธรรมการทำงาน - หาวิธีการทำงานใหม่ ๆ - ท้าทายให้ครูกล้าลองทำ - จุดไฟให้ครูพัฒนาตนเอง - กระตุ้นให้ครูพูดคุยในเรื่องการสอน

  45. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน 3) ผลผลิต ระดับคุณภาพในการบริหาร คุณภาพระดับ 1 ทำตามแบบ คุณภาพระดับ 2 พัฒนาตนเอง คุณภาพระดับ 3 ผู้นำ

  46. 4. การปรับตัวของผู้บริหารการศึกษา 2. การบริหารแบบพัฒนาคน 3) ผลผลิต ระดับคุณภาพครู (ผลผลิตของผู้บริหาร = คุณภาพของครู) คุณภาพระดับ 1 ทำตามแบบ คุณภาพระดับ 2 พัฒนาตนเอง คุณภาพระดับ 3 ผู้นำ

  47. ผลิตโดย สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา โทร. 02 282 9300 02 281 3901 http//WWW.ksp.or.th

More Related