1 / 2

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง

www.sepo.go.th. ข้อมูลทั่วไป. การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.). พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สังกัด : กระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ : นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม กรรมการผู้แทน กค. : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์

durin
Télécharger la présentation

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. www.sepo.go.th ข้อมูลทั่วไป การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด: กระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ : นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม กรรมการผู้แทน กค. : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ Website : http://www.mrta.co.th โทร.0-2716-4000 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย • กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) • จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน(ม. 6) • การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) • วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของบริษัท จำกัด) แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง • การคลังจัดทำขึ้นไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) • การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด • ผู้ว่าการ (CEO) : อยู่ในระหว่างการสรรหาผู้ว่าการแทน • นายชูเกียรติ โพธยานุวัตร • (นายรณชิต แย้มสะอาด รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ) • รักษาการผู้ว่าการ)) • รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง • CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง เงินเดือนพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลังSTATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง • กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน •  คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง • มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง • ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น • (Min – Max ของเงินเดือน= 5,900 – 224,380 บาท) • อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี): 11,580 บาท • จำนวนพนักงาน 576 คน (31 พ.ค. 54) พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 • วัตถุประสงค์ (ม. 7) • (1) ดำเนินกิจการรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดอื่นตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา หรือระหว่างจังหวัดดังกล่าว • (2) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำโครงการและแผนงานเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าเพื่อปรับปรุงและพัฒนาให้ทันสมัย • (3) ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าและธุรกิจอื่นเพื่อประโยชน์แก่ รฟม. และประชาชนในการ ใช้บริการกิจการรถไฟฟ้า (ดู ม. 9 ประกอบ) • จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ ไม่เกิน 14 คน ประธานกรรมการ ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงคมนาคม ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนกรมโยธาธิการและผังเมือง ผู้แทนสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนกรุงเทพมหานคร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน 4 คน (ซึ่งในจำนวนนี่ต้องแต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 1 คน) • ผู้ว่าการ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง (ม.13) • วาระการดำรงตำแหน่ง :ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี (ม. 16) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่น (ม. 16) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 20) โดยอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี (ม. 22) (แต่ต้องถือตาม พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ คือ ไม่เกิน 4 ปี ตามแนววินิจฉัยของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) • การพ้นจากตำแหน่ง (ม. 23(3)) คณะกรรมการให้ออกด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพราะบกพร่องต่อหน้าที่หรือมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ มติคณะรัฐมนตรีที่ยกเว้น  ได้รับยกเว้น การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 • ปัจจุบันมีโครงการให้เอกชนร่วมการงาน •  มีโครงการ จำนวน 2 โครงการ • โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (เฉลิมรัชมงคล) อยู่ในขั้นตอน  คกก. ม. 13  คกก. ม. 22 • โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่ – บางซื่อ) • อยู่ในขั้นตอน  คกก. ม. 13  คกก. ม. 22 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม เพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง (มาตรา 15) ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม คือ • (1) เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับ รฟม. หรือในกิจการที่กระทำให้แก่ รฟม. หรือในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและมีลักษณะเป็นการแข่งขันกับกิจการของ รฟม. ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม • (2) เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ รฟม. • เป็นผู้ถือหุ้นหรือในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่มีสัญญาร่วมงานหรือสัญญาสัมปทานกับ รฟม. หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน • อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง • ประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ว่าการ และพนักงาน เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (ม. 30) • อำนาจสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการที่จะจัดสร้างกิจการรถไฟฟ้า ภายใต้หลักเกณฑ์ที่กำหนด (ม. 32) • อำนาจในการใช้อสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน (ม. 35) • รฟม. โดยความเห็นชอบจาก ครม. อาจให้สัมปทานกิจการรถไฟฟ้าทั้งหมดหรือบางส่วนแก่เอกชนได้ (ม. 43) (โปรดดูข้อกำหนดต่างๆ เกี่ยวกับสัมปทาน ตามหมวด 4 มาตรา 43 – 56) • ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มีหน้าที่รักษาความปลอดภัยความสงบเรียบร้อยในเขตระบบไฟฟ้าตามกฎกระทรวงหรือตามที่ผู้ว่าการมอบหมาย และให้มีอำนาจ ค้น จับกุมผู้กระทำความผิดส่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ มีอำนาจเข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใดๆ ที่ประกอบกิจการรถไฟฟ้ารวมถึงสถานที่ทำการของผู้รับสัมปทานในเวลาทำการ (ม. 63) • ที่มาของข้อมูล •  สัญญาจ้างผู้บริหาร  www.krisdika.go.th •  มติคณะรัฐมนตรี • ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 1 ผู้อำนวยการส่วน : - ผู้จัดทำ : นางสาวอภิรดี จิตต์ปรารพ โทร. 022985880-9 ต่อ6746 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ปัจจุบันไม่ปรากฏว่ามีสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ตามมติคณะรัฐมนตรี ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ ๒๒๒/๒๕๕๑ การใช้ประโยชน์บนพื้นที่ว่างเหนือแนวอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินและสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รฟม. ได้สร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินและสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเวนคืนเพื่อดำเนินกิจการรถไฟฟ้า ส่วนพื้นที่ว่างบนและเหนือแนวสายทางอุโมงค์และสถานีรถไฟฟ้า รฟม. สามารถนำไปดำเนินกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการรถไฟฟ้าได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ของการเวนคืนและต้องอยู่ภายใต้ขอบวัตถุประสงค์การจัดตั้ง รฟม. เช่นเดียวกับการใช้พื้นที่ด้านบนรอบๆ บริเวณสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งมิใช่ปากทางเข้าออกสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ต้องพิจารณาว่าอยู่ในขอบวัตถุประสงค์ของการเวนคืนหรือไม่ด้วย

  2. คณะกรรมการ (ไม่เกิน 14 คน) องค์ประกอบ (มาตรา 13) • -ประธานกรรมการ • -ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี • -ผู้แทนกระทรวงการคลัง • -ผู้แทนกระทรวงคมนาคม • -ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร • -ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • -ผู้แทนกรมโยธาธิการและผังเมือง • -ผู้แทนสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • -ผู้แทนกรุงเทพมหานคร • -กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน 4 คน (ซึ่งในจำนวนนี่ต้องแต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภค 1 คน) • ผู้ว่าการ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง • วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี (ม. 16) • วาระการดำรงตำแหน่ง : 5 ปี อาจได้รับการแต่งตั้งอีกแต่ไม่เกิน 2 วาระ (ม. 22) • อำนาจ-หน้าที่ : ม.24 บริหารกิจการของ รฟม. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายของ คกก. และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง ผู้ว่าการต้องรับผิดชอบต่อ คกก. ในการบริหารกิจการ รฟม. • - อำนาจของผู้ว่าการ (ม.25) • - ผู้ว่าการเป็นผู้แทนของ รฟม. ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก และจะมอบอำนาจก็ได้ (ม. 26) • - คกก. เป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของ • ผู้ว่าการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 20) ผู้บริหาร

More Related