1 / 33

คดีการแข่งขันที่น่าสนใจ

คดีการแข่งขันที่น่าสนใจ. ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และยุโรป. อร่ามศรี รุพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว. POSCO. กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น. POSCO เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน ชนิดม้วน เพียงรายเดียวโดยมี

duyen
Télécharger la présentation

คดีการแข่งขันที่น่าสนใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คดีการแข่งขันที่น่าสนใจคดีการแข่งขันที่น่าสนใจ ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และยุโรป อร่ามศรี รุพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว

  2. POSCO กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น

  3. POSCO เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน ชนิดม้วน เพียงรายเดียวโดยมี ส่วนแบ่งตลาด 79.8% ที่เหลืออีก 20.2% จะนำเข้าจากต่างประเทศ ตลาดผู้ผลิต เหล็กแผ่นรีดเย็น (cold-rolled steel plate) • ส่วนแบ่งตลาด • บริษัท POSCO 58.4% • บริษัท Dongbu Steel 13.7% • บริษัท Hyundai Hysco 11.1% • บริษัท Union Steel 7.9% • นำไปผลิต • ตัวถังรถ • เครื่องใช้ในบ้าน • ตู้ขนส่งสินค้าทางเรือ ตลาดเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน (hot-rolled coil) ที่ใช้เป็นวัตถุดิบหลัก ในการทำเหล็กแผ่นรีดเย็น

  4. ข้อโต้แย้งของ POSCO • ขอบเขตตลาดเป็นตลาดเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็น • (cold-rolled steel plate) สำหรับทำตัวถังรถยนต์เท่านั้น • เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็นสำหรับทำตัวถังรถยนต์ • จึงเป็นคนละตลาดกัน (separate market) • ลักษณะรูปร่าง • กระบวนการผลิต • POSCO ระบุว่าไม่เคยขายเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็น • สำหรับทำตัวถังรถยนต์ให้แก่บริษัทใด จึงถือว่าส่วนแบ่งตลาดเป็น 0 (ศูนย์) • ดังนั้น จึงถือได้ว่าบริษัท POSCO ไม่เป็นผู้มีอำนาจเหนือตลาด

  5. การพิจารณา ของ KFTC • การใช้ทดแทนกันด้านอุปสงค์สูงระหว่างเหล็ก • แผ่นรีดร้อนชนิดม้วนสำหรับทำชิ้นส่วนรถยนต์ • และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนสำหรับใช้เพื่อ • วัตถุประสงค์อื่น • ส่วนแบ่งตลาดของบริษัท POSCO ในตลาดประเทศเท่ากับ • 79.8% เนื่องจาก เห็นว่าตลาดภูมิศาสตร์มีขอบเขตตลาด • นอกจากประเทศเกาหลี โดยรวมถึงเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิด • ม้วนที่นำเข้าจากประเทศจีนและญี่ปุ่น คิดเป็นส่วนแบ่งตลาด • 20.2%

  6. พื้นฐานแนวคิดที่ใช้ตัดสินคดี • ข้อ 1 : ประเด็นตามข้อกฎหมาย • - เป็นพฤติกรรม POSCO ฝ่าฝืนกฎหมาย MRFT: ปฏิเสธการจำหน่าย • - ประโยชน์ของผู้บริโภค [ consumers welfare ] • - เศรษฐกิจของประเทศ • ข้อ 2 : ผลกระทบ • - POSCO ใช้อำนาจในทางที่ผิด สร้างอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดแก่ Hyundai • - Hyundai Hysco ไม่มีทางเลือก ธุรกิจต้องหยุดชะงัก • - หาก Hyundai นำเข้าจากต่างประเทศ • ต้นทุนการผลิตเพิ่ม ( ค่าระวางขนส่ง , ค่าภาษีขาเข้า , ค่าขนถ่ายสินค้า • การดำเนินธุรกิจขาดเสถียรภาพเพราะขาดความมันคงในปัจจัยการผลิต

  7. การตัดสิน ของ KFTC • การกระทำของบริษัท POSCO ฝ่าฝืนต่อ MRFTA ซึ่งตราขึ้น • - ให้ผู้บริโภคได้รับสวัสดิการสูงสุดโดยปกป้องการแข่งขัน • - พัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ • การกระทำของบริษัท POSCO เป็นการใช้อำนาจเหนือตลาด • ในตลาดต้นน้ำกีดกันให้บริษัท Hyundai Hysco ออกจาก • ตลาดปลายน้ำ • KFTC ตัดสินให้ปรับบริษัท POSCO เป็นเงิน 1,640 ล้านวอน

  8. คดี : Akzo Chemic BV Vs คณะกรรมาธิการแห่งประชาคมยุโรป

  9. มาตรา 86 : ห้ามผู้มีอำนาจเหนือตลาด กำจัดคู่แข่งขัน อันเป็นการ เพิ่มอำนาจของบุคคลนั้น โดยใช้วิธีการที่ไม่ใช่เป็นการ แข่งขันในเชิงคุณภาพ

  10. Akzo ได้กระทำผิดมาตรา 86 ของสนธิสัญญา โดย Akzo ได้ก่อเกิดความเสียหายโดยเจตนา แก่บริษัท Engineeringand Chemical Supplies : ECS โดยมุ่งให้ ECS ถอนตัวออก จากตลาด Organic Peroxides ของ EEC ข้อกล่าวหา :

  11. ผลิต Organic Peroxides ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติก สารฟอกขาว สำหรับแป้ง potassium Borate วิตามินรวม สำหรับแป้งอีกสองชนิด ผู้ผลิต Akzo Diaflex ข้อเท็จจริง Akzo 1) Akzo 2) ECS 3) Diaflex ผู้ผลิตสารปรุงแต่งแป้งเกือบทุกชนิด บางชนิด Akzo 85% โรงงานทำแป้ง Diaflex RHM บริษัท Spillers ลูกค้า Provincial Merchamrs ECS บริษัท Allied Mills 10% โรงงานทำแป้งอิสระ 2/3 ECS 5% ผปธ. อิสระรายเล็ก 1/3 Akzo

  12. ก่อน ปี 1980 ECS เสนอขายสินค้า แก่ RHM 2/3D Akzo Diaflex ECS Provincial Merchant RHM โรงงาน แป้งอิสระ (10%) ผู้ประกอบการ รายใหญ่อิสระ (5%) Spiller Allied Mill โรงงานแป้งกลุ่มบริษัท ( 85 %) 1/3D

  13. Akzo Diaflex ECS Provincial Merchant RHM Provincial Merchant โรงงาน แป้งอิสระ ผู้ประกอบการ รายใหญ่อิสระ 2.3 Spiller Allied Mill หลัง

  14. ปัจจัยต่างๆ ที่ระบุว่า Akzo มีอำนาจ เหนือตลาด Akzo มีส่วนแบ่งตลาดในปริมาณมาก เท่ากับส่วนแบ่งตลาดของผู้ผลิตรายอื่นทั้งหมดรวมกัน Akzo ได้เปรียบด้านเงินทุน มีผลิตภัณฑ์ไว้จำหน่ายค่อนข้างจะครบวงจรยิ่งกว่าคู่แข่ง Akzo ประสบความสำเร็จในการคงไว้ซึ่ง margin โดยวิธีการเพิ่มราคาสินค้าและ/หรือเพิ่มยอดขาย แม้ในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจจะไม่ค่อยดี กระบวนการทางการตลาดและทางธุรกิจ ที่มีความพัฒนามากกว่าคู่แข่งรายอื่นๆ มีความรู้ความชำนาญเหนือคู่แข่งในเรื่องของความปลอดภัย และเรื่องการป้องกันสารพิษ เท่าที่ผ่านมา Akzo ประสบความสำเร็จในการกำจัดคู่แข่งที่ก่อความยุ่งยากให้ Akzo และสามารถทำให้คู่แข่งเหล่านั้นอ่อนแอลงอย่างมากได้ พฤติกรรมในอดีตเมื่อ Akzo ได้ทำให้คู่แข่งซึ่งเป็นผู้ประกอบการรายย่อยหมดบทบาทลงแล้ว Akzo ก็จะขึ้นราคาในสินค้าที่เกี่ยวข้อง

  15. พฤติกรรมที่แสดงถึงเจตนา Akzo ได้ดำเนินนโยบายกำจัดคู่แข่งที่ทำการค้ากับ RHM หรือบริษัท Spiller โดย Akzo ได้พยายามหาข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอที่คู่แข่งเสนอแก่ลูกค้า Akzo ได้ใช้สาร potassium bromate เป็นเหยื่อล่อเพื่อดึงดูดลูกค้าของ ECS และ ได้ขายวิตามินรวมในราคาที่ต่ำเพื่อเป็นเหยื่อล่อลูกค้าให้เปิดเผยข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลแล้ว Akzo ก็จะให้ข้อเสนอในราคาที่ต่ำกว่า Suppliers อื่น ๆ โดยเฉพาะในส่วนของบริษัท SpillersAkzo ได้วางเงื่อนไขว่า บริษัท Spillers จะต้องตกลงซื้อสารปรุงแต่งแป้งจาก Akzo เพียงรายเดียวเท่านั้น Akzo ได้เสนอขาย potassium bromate หรือวิตามินรวม พ่วงกับสาร benzoyl peroxide ในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนรวมแต่สูงกว่าต้นทุนแปรผันเฉลี่ย เพื่อทำลายธุรกิจของ ECS Akzo ได้คงระดับราคาสารปรุงแต่งไว้ในระดับที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็น เป็นเวลานาน

  16. การจำหน่ายสินค้า AVC<P<ATC ของ Akzo 298 < 518 < 558

  17. ผลการพิจารณาของศาล • การตั้งราคาต่ำเกินสมควรเพื่อดึงดูดลูกค้าของ ECS Akzo ได้เสนอราคาและจำหน่ายสารปรุงแต่งแป้งให้แก่ลูกค้า ECS ซึ่งเป็นลูกค้ารายใหญ่และเป็นลูกค้าอิสระในราคาที่ต่ำกว่าเกินควร เพื่อที่จะกำจัด ECS ออกไปจากตลาด (Ql ,Pไม่ต่างกัน) • การตั้งราคาขายโดยไม่เท่าเทียมกัน Akzo ได้ตั้งราคาขายที่แตกต่างกัน ในขณะที่ผู้ซื้อมีขนาดที่ใกล้เคียงกัน อันเนื่องจากคุณภาพหรือต้นทุนต่างกัน • การตั้งราคาชักจูงใจ เพื่อที่จะได้กำจัด ECS ออกไปจากตลาด Akzo ตั้งราคา potassium bromate ไม่สูงมากนั้นก็เป็นเพราะว่า Akzo อยากจะชักจูงใจให้ลูกค้าซื้อสารปรุงแต่งทุกชนิดที่ Akzoมีขาย รวมทั้งขายวิตามินรวมต่ำกว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย • การคงราคาสินค้าไว้ในระดับที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นเป็นระยะเวลานาน ทำให้คู่แข่งต้องออกไปจากตลาดเพียงเพราะว่าผู้ประกอบการรายนั้นมีเงินทุนน้อยกว่าและไม่สามารถที่จะทนต่อการแข่งขันเช่นนั้นจากผู้มีอำนาจเหนือตลาดได้ • การหาข้อมูลเกี่ยวกับคำเสนอขายของคู่แข่ง เพื่อให้สั่งซื้อสินค้าจาก Akzo เพียงรายเดียว ศาลเห็นว่า เป็นส่วนหนึ่งของแผนการที่จะกำจัดคู่แข่งออกจากตลาด ซึ่งมิใช่การกระทำดังกล่าวที่เป็นปกติธรรมดาแต่เป็นนโยบายทางการค้าเพื่อที่จะกำจัดคู่แข่ง

  18. ค่าปรับ ศาลเห็นว่า การกระทำความผิดของ Akzo มีความรุนแรงอย่างมากทั้งนี้เพราะพฤติกรรมของ Akzo มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะห้ามมิให้คู่แข่งขยายการประกอบธุรกิจ เข้าไปในตลาดที่ Akzo มีอำนาจเหนือตลาดอยู่ก่อนแล้ว และได้สั่งให้ปรับ Akzo เป็นเงิน 7,500,000 ECU

  19. กรณีศึกษา : บริษัท มิชลิน ...

  20. มิชลิน 1. ข้อกล่าวหา บ.มิชลิน ผู้ผลิตยางรถยนต์ใช้อำนาจเหนือตลาดเลือกปฏิบัติด้านราคาและบังคับขายพ่วงยางรถยนต์แก่ผู้จัดจำหน่ายยางรถยนต์ • 2. ข้อเท็จจริง • ปี 1980 บ.มิชลิน มีส่วนแบ่งตลาดในประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นอันดับที่ 2 คือ 57 – 65% • คู่แข่งอีก 5 ราย มีส่วนแบ่งตลาดรวม7-12% • มีนำเข้าจากประเทศสมาชิกอื่น EU 25 – 28%

  21. มิชลิน • 3. การวิเคราะห์ตามข้อกฎหมาย • 3.1 การมีอำนาจเหนือตลาด (Dominance Position) • 3.2 พฤติกรรม : ใช้อำนาจโดยมิชอบ (Abuse of Dominance) ต่อตัวแทนจำหน่ายของตน • 1) ระบบการให้ส่วนลดเพิ่มขึ้นในการขายยางรถบรรทุก • 2) มีการให้เงินพิเศษตามยอดการสั่งซื้อ • 3) มีการให้เงินพิเศษ ซึ่งเป็นการตกลงด้วยวาจาแบบมีเงื่อนไขที่ต้องการ

  22. มิชลิน  ระบบการให้ส่วนลดเพิ่มขึ้นแก่ยางรถบรรทุก จาก15%(1977) เพิ่มเป็น 22.5% (1978) 30% (1979) เพื่อมุ่งผูกมัดตัวแทนจำหน่ายไว้กับตน ทำให้คู่แข่งประกอบอย่างต่อเนื่อง ด้วยความลำบาก  การให้เงินพิเศษตามยอดการสั่งซื้อ  การให้เงินพิเศษซึ่งเป็นการตกลงด้วยวาจาแบบมีเงื่อนไขที่ต้องการ ในอัตราที่แตกต่างกันตามดุลยพินิจของบริษัท ที่กำหนดเป้าหมายใน ระดับที่สูงกว่าจำนวนซื้อในปีก่อนมาก ทั้งๆ ที่เศรษฐกิจตกต่ำ เพื่อสร้างยอดจำหน่ายแก่ตัวแทนในอัตราที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการกดดันอย่างมาก เสริมสร้างความแข็งแกร่งในอีกตลาดหนึ่ง และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ตัวแทนจำหน่ายไม่สามารถเปรียบเทียบกับราคาซื้อสุทธิที่สามารถเปรียบเทียบกับราคาซื้อสุทธิจากคู่แข่งรายอื่นได้ รวมทั้งมีการให้เงินพิเศษแก่การซื้อยางรถยนต์นั่ง

  23. 4.1 การให้ผลตอบแทนเพื่อผูกมัดลูกค้า (Fidelity rebate) แบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นการเลือกปฏิบัติ (Price Dicrimination) 4.2 การให้เงินพิเศษ (Extra Bonus) เพื่อใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดยางรถบรรทุก ผลักดันให้ตัวแทนจำหน่ายต้องซื้อสินค้า ยางรถยนต์นั่งพ่วง นับว่าเป็นการกำหนดเงื่อนไขทางด้านการค้า ที่ไม่เป็นธรรม คำตัดสิน

  24. คดี Boral & BBM. ในประเทศออสเตรเลีย กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด กำหนดราคาขายต่ำกว่าต้นทุน เพื่อจำกัดคู่แข่ง ในตลาดผลิตภัณฑ์สำหรับก่อสร้าง

  25. ข้อกล่าวหา • บ.บอรัลมีพฤติกรรมการประกอบธุรกิจที่ฝ่าฝืนมาตรา 46 • (Trade Practice Act.) • ใช้อำนาจเหนือตลาดกำจัดคู่แข่งในตลาด โดย • - กำหนดราคาขายต่ำกว่าทุน และ • - ขายตัดราคาเพื่อจำกัดคู่แข่ง คือ C&M • ให้ออกจากตลาด

  26. การพิจารณา ของศาล ศาลพิจารณาประเด็น ดังนี้ : 1.ขอบเขตตลาด มิใช่เป็นตลาดเฉพาะผลิตภัณฑ์ CMP เท่านั้น แต่เป็นตลาดผลิตภัณฑ์ผนัง และแผ่นปูทางเท้า - พื้นถนนด้วย 2. ผู้ถูกกล่าวหา(Boral&BBM) - มีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือไม่ - มีการกำหนดราคาขายต่ำกว่าทุนหรือไม่ - มีผลสามารถกำจัดคู่แข่งได้หรือไม่

  27. การพิจารณา ของศาล บจ.บอรัล มีอำนาจเหนือตลาดหรือไม่ 1. ไม่มีอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด - กระบวนการผลิตง่าย - เป็นสินค้าที่ไม่มีเรื่องลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร 2.สภาพการแข่งขันในตลาด ส่วนแบ่งตลาด2537 ไพโอเนียร์ 25 % บอรัล 25-30% โรคลา 22 % บัดเจ็ท 7 % ส่วนแบ่งตลาด2539 ไพโอเนียร์ 25% บอรัล 25-30% (ผู้ถูกกล่าวหา) C&M 40%(ผู้กล่าวหา)

  28. การพิจารณา ของศาล 3.พฤติกรรมการขาย - ตลาด มีการแข่งขันสูง - บอรัลต้องลดราคาตามเพื่อความอยู่รอดของ เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่ มิออกจากตลาด - ขายต่ำกว่าทุนในช่วงสั้น ไม่มีผลกระทบให้C&M ต้องออกจากตลาด คำพิพากษาของศาลฎีกา • บอรัลไม่มีอำนาจเหนือตลาด • พฤติกรรมการขายต่ำกว่าทุน เพื่อสนองสภาพตลาด • ที่มีการแข่งขันสูง มีเหตุผล • ไม่มีเจตนาทำลายคู่แข่ง C&M ยังอยู่ในตลาด

  29. ในประเทศ สหรัฐอเมริกา องค์กรผู้ให้บริการซ่อมอิสระ ฟ้อง บริษัท Eastman Kodak ข้อหา ละเมิดกฎหมายป้องกันและผูกขาด และเรียกร้อง ค่าเสียหายจากจำเลย พฤติกรรม ไม่ขายชิ้นส่วน จำกัดโดยวิธีการต่างๆ ไม่ให้คู่แข่ง หาซื้อชิ้นส่วนจากแหล่งอื่นได้

  30. ลูกค้าเห็นว่า ค่าซ่อมที่ร้าน ISOs จะต่ำกว่าของ Kodak มากและคุณภาพการซ่อมก็ เหนือกว่า (Higher Quality) ข้อเท็จจริง Eastman Kodak - ผลิตและจำหน่ายเครื่องถ่ายเอกสาร ความเร็วสูง และเครื่องมืออุปกรณ์ เกี่ยวกับไมโครฟิล์ม - ซ่อมเครื่องถ่ายเอกสาร หลังการขาย และเมื่อหนังสือรับประกันหมดอายุ องค์กรผู้ให้บริการซ่อมอิสระ (ISOs) - ทำธุรกิจซ่อมและให้บริการบำรุงรักษาสินค้าของ Kodak - ซื้ออะไหล่และชิ้นส่วนในการซ่อมจาก OEM * ถอดจากเครื่องเก่าของ Kodak * จากลูกค้าที่ซื้อมาจาก Kodak * ซื้อเครื่องเก่ามาถอดเอาชิ้นส่วนบางชิ้น พฤติกรรมKodak - ตกลงกับ OEM ว่าจะไม่ขายชิ้นส่วนให้กับ ISOs - กดดันนายหน้าและผู้จำหน่ายอิสระไม่ให้ขายชิ้นส่วนให้กับ ISOs - ทำให้เครื่องเก่าเหลือในตลาดให้น้อยที่สุด

  31. พฤติกรรมบอกว่าเป็นการขายสินค้า 2 ชนิดควบกัน จะซื้อแต่สินค้าชนิดแรก • (เครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องไมโครฟิลม์)ไม่ได้ เว้นแต่ต้องซื้อสินค้าชนิดที่ 2 • (บริการซ่อม) ด้วย • ปริมาณการค้าที่เกี่ยวข้องมีจำนวนมาก (ส่งผลกระทบกว้างทั้งฐานลูกค้ารัฐ,เอกชน) • ผู้ขายควบมีอำนาจเหนือตลาดในสินค้าชนิดแรก (เพราะถ้าหันไปซื้อยี่ห้ออื่น จะต้องจ่ายแพงกว่าค่าซ่อม)switching costสูง • Kodak มีอำนาจเหนือตลาด แต่ไม่สามารถใช้อำนาจดังกล่าวได้ เนื่องจาก • ตลาดทั้งสองเป็นคนละตลาดกัน • หากขึ้นราคาค่าบริการซ่อม (ตลาดที่ 2) ยอดขายในตลาดแรกลดลง • (เนื่องจากลูกค้ารวมค่าบริการซ่อมเข้ากับเครื่องที่ซื้อใหม่ในตอนแรกด้วย) • แต่ในความเป็นจริงไม่ข้อมูลตัดสินใจ) แนวคำพิพากษากรณีการขายควบ (tying) ข้อโต้แย้งของ Kodak

  32. ความเห็นเพิ่มเติม • Kodak ไม่มีอำนาจตลาดในตลาดแรก • - ลูกค้า มองว่า การขึ้นราคาค่าซ่อมแซม เปรียบเหมือนการขึ้นราคา • เครื่องถ่ายเอกสารหรือเครื่องอุปกรณ์ • - ผู้ขาย มองว่า รายได้จากค่าบริการซ่อมแซมเป็นส่วนหนึ่งของค่าขาย • เครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องอุปกรณ์ • จึงไม่น่าฟังขึ้นว่าบริษัท Kodak จะขึ้นราคาค่าบริการซ่อมแซม คำพิพากษาของศาลฎีกา บริษัท Kodak กระทำผิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด

  33. ค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ www.dit.go.th/otcc โทร. 02-547-5428 ถึง 33 02-507-5878 ถึง 85 หรือ 1569 33

More Related