1 / 75

รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา

รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา. ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2549. สมาชิกวุฒิสภา 2551. สมาชิกวุฒิสภา 2554. รองประธานกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา 2551-2554.

dyani
Télécharger la présentation

รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา

  2. ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2549 • สมาชิกวุฒิสภา 2551 • สมาชิกวุฒิสภา 2554 • รองประธานกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา 2551-2554 • รองประธานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนฯ 2551-2554 • ประธานคณะกรรมการอำนวยการโครงการเฉลิมพระเกียรติ วุฒิสภา • ประธานคณะกรรมการศึกษาการเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของเครือข่าย ภาคประชาสังคม ภาคอีสาน

  3. ประเด็นที่ต้องแลกเปลี่ยนในวันนี้ประเด็นที่ต้องแลกเปลี่ยนในวันนี้ • ประชาคมอาเซียนคืออะไร • ประชาคมอาเซียนมีความสำคัญอย่างไรกับประเทศไทยและในอาเซียน • จะจัดการจัดการศึกษาเพื่อเตรียม เข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร

  4. โลกแห่งอนาคต ? Global Village เด็ดดอกไม้ ก็สะเทือนถึงดวงดาว

  5. โลกในอนาคตไม่ใช่ขายของโลกในอนาคตไม่ใช่ขายของ SERVICES BRAND

  6. ธงประจำกลุ่มอาเซียน

  7. ASEAN คืออะไร ?

  8. ก่อนจะเป็น ประชาคมอาเซียน -2504 วิสัยทัศน์อาเซียน -ASEAN VISION 2020 ประชาคมอาเซียน-ASEAN COMMUNITY 2015 One Vision ONE Identity One Community “กว่าจะเป็น ประชาคมอาเซียน”

  9. ASEAN ? • Bangkok Declaration • ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ • เพื่อความมั่นคงจากภัยคอมมิวนิสต์

  10. Asean ? • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • Association of South East Asian Nations • ไทย มาเลย์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา บรูไน สิงคโปร์ • GDP 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ ลำดับที่ 9 ของโลก

  11. สามเสาประชาคมอาเซียน ๑. ด้านการเมืองและความมั่นคง ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม

  12. Blueprints : APSC • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ • ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล

  13. Blueprints : AEC • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน • พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี

  14. Blueprints : ASCC • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • เสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า

  15. สำคัญอย่างไรกับคนไทย • ข้อตกลงทุกข้อนั้น • ทุกประเทศต้องปฏิบัติตามทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง • ประเทศใดในอาเซียนปฏิบัติไม่ได้ตามข้อตกลง ต้องยอมรับและสละสิทธิ์นั้น

  16. จุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ ของประเทศไทยใน 1 มกราคม 2558

  17. 1.ข้อตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน(Mutual Recognition ArrangementหรือMRAs) วิศวกรรม การพยาบาล สถาปัตยกรรม การสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ บัญชี

  18. เงื่อนไข 1 มกราคม 2558 หากมีความสามารถและผ่านเกณฑ์เงื่อนตามที่แต่ละประเทศกำหนดได้ จะสามารถเข้าไปทำงานได้ใน 10 ประเทศโดยเสรี

  19. 2.หลังปี 58 มอบให้ผู้ประสานงานหลัก(Country Coordinators) 11 สาขา พม่า-เกษตรและประมง มาเลเซีย-ยางและสิ่งทอ สิงคโปร์-เทคโนโลยีสารสนเทศและสุขภาพ ฟิลิปปินส์-อิเล็กทรอนิกส์ ไทย-ท่องเที่ยวและการบิน

  20. 3.ภาษากลางของอาเซียน • English คือ ภาษาอาเซียน

  21. 4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน • วัฒนธรรมขงจื้อ-เวียดนาม,สิงคโปร์ • วัฒนธรรมพุทธ-ไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา • วัฒนธรรมอิสลาม-มาเลซีย,อินโดนีเซีย,บรูไน • วัฒนธรรมคริสต์-ฟิลิปปินส์

  22. 5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ • บริการข้ามแดน(Cross-border Supply) • บริโภคต่างประเทศ(Consumption Abroad) • จัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence) • การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา (Presence of Natural Person)

  23. ผลกระทบประเทศไทย:เปิดแรงงานเสรีอาเซียน 58 • การไหลบ่าของแรงงานที่จะเข้ามาแข่งขัน • แรงงานไทยจะขาดแคลนมากยิ่งขึ้น • สมองไหลไปทำงานในต่างประเทศ • ลาว พม่า กัมพูชา จีนและอินเดียจะเข้ามามากยิ่งขึ้น

  24. รูปธรรมที่จะเกิดขึ้น

  25. ไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไปไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไป

  26. ทุกประเทศต้องชูธงของตนเองทุกประเทศต้องชูธงของตนเอง

  27. ท่านคิดว่าเขามาแข่งกับเราได้หรือไม่ท่านคิดว่าเขามาแข่งกับเราได้หรือไม่

  28. เขาเป็นใคร?มาจากไหน? ทำไม ?

  29. ประเทศไทยเตรียมตัวอย่างไรประเทศไทยเตรียมตัวอย่างไร

  30. สรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนสรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำรวจนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน

  31. ผลการวิจัยชี้นักเรียนนักศึกษาไม่ทราบ ASEAN • จากการสำรวจของกรมการจัดหางาน โดยกองวิจัยตลาดแรงงาน เรื่อง ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในประชาคมอาเซียน • ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 736 คน • ผลปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ หรือ ร้อยละ 99.46 ยังไม่ทราบเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในประชาคมอาเซียน มีเพียงร้อยละ 0.54 เท่า นั้น

  32. อุดมศึกษา • ทำหลายโครงการแต่ไม่มีงบประมาณ • พัฒนาด้านผู้สอนให้จบปริญญาเอกมากที่สุด ให้ทุนเรียนภาษาประเทศเพื่อนบ้าน แต่น้อยและ ไม่มีผู้สนใจ • มีAU ทำอยู่แล้ว เพราะมีสำนักงานตั้งอยู่ในประเทศไทย รัฐบาลไทยให้งบฯปีละ 7 ล้านบาท

  33. อาชีวศึกษา • จะตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อพัฒนาแรงงานฝีมือให้มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล • ครูขาดวิสัยทัศน์ ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • มีความร่วมมือกับกัมพูชา,ลาว,สิงคโปร์ อยู่แล้ว แต่ไม่มีงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

  34. การศึกษาขั้นพื้นฐาน • กำหนดให้เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของปีนี้ • คุรุสภาจัดประชุมครูอาเซียนทุกปี • SP2 ผลักดันให้มี Spirit of ASEAN-68 • SISTER-30 • BUFFER-14 • ASEAN Focus-14

  35. สภาการศึกษา • มีโครงการดำเนินการมาก ไม่มีงบประมาณ • การมีส่วนร่วมของของคนในประเทศน้อยไป • เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ปกครอง เข้ามามีส่วนร่วมน้อยไป • ประเทศไทยต้องรู้ว่า เราอยู่ตรงไหนของอาเซียน จะเตรียมอย่างไร

  36. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการสนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ • มีเพียงนโยบายแต่ไม่มีงบประมาณ “Education Hub” • การเปิดเสรีทางการศึกษาให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนด้านการศึกษาได้ • อยากทำหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรเกี่ยวกับอาเซียน

  37. ปัญหาและข้อจำกัดของไทยปัญหาและข้อจำกัดของไทย • 1.รัฐบาล ไม่สนับสนุน นโยบาย-งบประมาณ • 2.ภาครัฐ ตระหนักน้อย - เฉื่อยชา • 3.การจัดการศึกษาไม่เตรียมให้พร้อมเพื่อรองรับ • 4.ไม่มีหน่วยงานหรือองค์กรเพื่อทำหน้าที่เตรียมความพร้อมให้กับพลเมืองไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างมืออาชีพ จริงจัง

  38. ประเทศไทย • ไม่เรียนรู้ประเทศอาเซียนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ภาษา ประเพณี ประวัติศาสตร์ รสนิยม • ไม่สนใจต่อยอดจุดแข็ง สร้างเสริมจุดอ่อน

  39. จุดแข็ง โอกาส ประเทศไทยในอาเซียน

  40. จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com

  41. รายได้ต่อหัวประชาชนใน ASEAN

  42. ต้องเตรียมอย่างไรบ้างต้องเตรียมอย่างไรบ้าง ข้อเสนอเชิงนโยบายจากแผนปฏิบัติการของASEAN

  43. การศึกษา:คนไทยมีลักษณะอย่างไร ? • อยู่ในสังคมไทยได้ • คนเก่ง คนดี มีความสุข • สู้...กับอีก 10 ประเทศได้หรือ

  44. ต้องสื่อสารเรื่อง ASEAN ไปถึงประชาชน • สื่อพื้นบ้าน/ท้องถิ่น • สื่อกระแสหลัก-ทีวี/หนังสือพิมพ์ • กำหนดเป็นนโยบายรัฐ • ประชาชนต้องเป็นเจ้าของอาเซียน • อาเซียนต้องเป็นเจ้าของประชาชน

  45. สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไรสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไร • กฎบัตรอาเซียน ? • ประเทศในอาเซียน ? • ภาษาอาเซียน • ภาษาประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ? • ความต่างและความเหมือนของประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมอาเซียน

  46. ต้องสร้างและสนับสนุน • การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหม่ เพื่อการสื่อสาร • การจัดการเรียนการสอนภาษาประเทศเพื่อนบ้าน เป็น วิชาที่สองหรือวิชาเลือก • ยกระดับ วิชากฎหมายความร่วมมือระหว่างประเทศ

  47. ต้องสร้าง Future Leader of ASEAN • ระดับนักเรียน นักศึกษา • ระดับครู-อาจารย์-บุคลากรทางการศึกษา • ระดับผู้นำชุมชนและสังคม • ระดับภาครัฐและภาคเอกชน

More Related