1 / 30

กรอ...รู้ทัน รู้คิด...ใกล้ชิด AEC

กรอ...รู้ทัน รู้คิด...ใกล้ชิด AEC. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิ ผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันพุธที่ 23 มีนาคม 255 4 เวลา 13 .00 - 1 6 .00 น. ณ ห้องมิรา เคิล แก รนด์ บอล รูม ชั้น 4 โรงแรมมิรา เคิล แก รนด์ คอน เวนชั่น กรุงเทพฯ. Outline. กลุ่มสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ.

Télécharger la présentation

กรอ...รู้ทัน รู้คิด...ใกล้ชิด AEC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอ...รู้ทัน รู้คิด...ใกล้ชิด AEC นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันพุธที่ 23 มีนาคม 2554 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องมิราเคิล แกรนด์ บอลรูม ชั้น 4 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

  2. Outline

  3. กลุ่มสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ

  4. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็นเป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Economic Integration) • เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • เคลื่อนย้ายบริการเสรี • เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี • เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี • เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น “อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจ โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (single market and production base)และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี”

  5. เป้าหมายของ AEC เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน

  6. การนำเข้าส่งออกสินค้าได้อย่างเสรี (Free Flow of Goods) กรอบระยะเวลาการลดอัตราภาษีสินค้าของประเทศสมาชิกอาเซียน * IL = Inclusion List (บัญชีภาษีสินค้า) **SL = Sensitive List (สินค้าอ่อนไหว) ***HSL = Highly Sensitive List (สินค้าอ่อนไหวสูง)

  7. สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) 11

  8. สินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List)

  9. การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี (NTBs) กรอบระยะเวลาการขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี (NTBs) ส่งเสริมความโปร่งใส ลดจำนวน NTB กำจัด NTB อาเซียน 5 (2010) กำจัด NTB ฟิลิปปินส์ (2012) กำจัด NTB สำหรับ CLMV (2015) ยืดหยุ่นบางตัวสินค้าอ่อนไหว 2008-09 2010-11 2012-13 รายการสินค้าที่ไทยเสนอต่อ AFTA Council เพื่อยกเลิก NTBs NTBs ชุดที่ 1 ลำไย พริกไทย ใบยาสูบ น้ำมันถั่วเหลือง และน้ำตาล 2014-15 NTBs ชุดที่ 2 ปอกระเจา ป่าน และมันฝรั่ง NTBs ชุดที่ 3 เนื้อมะพร้าวแห้ง มะพร้าว น้ำมันมะพร้าว ชา ถั่วเหลือง เมล็ดกาแฟ กาแฟสำเร็จรูป น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง และนมผงขาดมันเนย

  10. การค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรีการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรี (Free Flow of Services) ลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด และเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้น ให้กับบุคคล/นิติบุคคลสัญชาติอาเซียน กรอบระยะเวลาของการอนุญาตให้นักลงทุนอาเซียนเข้ามาถือหุ้นในสาขาบริการ • สาขาบริการที่เร่งรัด (Priority sectors) ได้แก่ E-ASEAN (โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์) • สุขภาพ ท่องเที่ยว และการบิน

  11. การลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรีการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรี (Free Flow of Investment) เพื่อเปิดเสรีการลงทุน ให้ความคุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน และอำนวยความสะดวกด้านการลงทุน บริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา • รูปแบบของการลงทุน • ลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) • ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ (Portfolio) สาขาที่เปิดเสรีการลงทุน

  12. การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรีมากขึ้น (Freer Flow of Capital)

  13. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรีมากขึ้น (Free Flow of Skilled labor) ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัติของบริการวิชาชีพ (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) • อำนวยความสะดวกแก่ผู้ให้บริการวิชาชีพในการเข้ามาทำงานและพำนักอาศัย โดยการยอมรับวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน • แต่ประเด็นเรื่องการเข้าเมืองและการทำงานยังต้องเป็นไปตามกฎระเบียบภายในของแต่ละประเทศสมาชิกด้วย เช่น การสอบใบอนุญาต ปัจจุบันอาเซียนมีการลงนามร่วมกันใน MRAs 7 สาขาอาชีพคือวิศวกรนักสำรวจสถาปนิกแพทย์ทันตแพทย์พยาบาลและนักบัญชี

  14. ภาพรวมการค้าสินค้าระหว่างไทยและอาเซียนภาพรวมการค้าสินค้าระหว่างไทยและอาเซียน การปรับลดอัตราภาษีส่งผลให้การค้าระหว่างไทยและกลุ่มประเทศอาเซียนขยายตัวเป็นอย่างมาก หน่วย: ล้านบาท ที่มา: กรมศุลกากร (ประมวลผลโดยธนาคารแห่งประเทศไทย)

  15. AFTA เป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (Intra-regional Trade) มูลค่าการค้ารวมระหว่างไทย-อาเซียนสูงกว่ามูลค่าการค้ารวมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น ไทย-EU และไทย-สหรัฐ ที่มา: ASEAN Economic Community Chartbook, 2009

  16. สินค้าไทยที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบสินค้าไทยที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ ภายใต้ความตกลง AFTA • เหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์ (อินโดนีเซีย) • เครื่องจักรกล (มาเลเซียและเวียดนาม) • ยานยนต์และชิ้นส่วน (มาเลเซีย) • สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (เพื่อนบ้าน เช่น เวียดนาม) • เฟอร์นิเจอร์ (เวียดนาม) • สินค้าอิเล็กทรอนิกส์/เครื่องใช้ไฟฟ้า (มาเลเซีย) • ผลิตภัณฑ์พลาสติก (เวียดนาม)

  17. ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน มีทิศทางไม่ชัดเจน อาหารแปรรูป เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อัญมณีและเครื่องประดับ เคมีภัณฑ์ พลาสติก เหล็ก ส่วนแบ่งในตลาดอาเซียนมีความผันผวน ดาว ผลิตภัณฑ์ยาง ไทยมีส่วนแบ่งในตลาดอาเซียนสูงเป็นอันดับ 1 และมีทิศทางของส่วนแบ่งตลาดที่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มทำเงิน สิ่งทอ ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ไม้ ส่วนแบ่งสินค้าของไทยในตลาดอาเซียนมีลักษณะผันผวน มีแนวโน้มตกต่ำ อาหารแช่แข็ง และอโลหะ ส่วนแบ่งในตลาดอาเซียนลดลงอย่างต่อ เนื่องและมีมูลค่าการส่งออกหดตัวต่อเนื่องเช่นกัน ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (กันยายน, 2553)

  18. โอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจโอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ

  19. ผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ

  20. AEC: จุดเปลี่ยนประเทศไทย จุดยืนของไทย รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบและขยายตลาดตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ การค้า เน้นการค้าภายในภูมิภาคมากขึ้น การแข่งขันสูงขึ้น ภาคบริการเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากขึ้น เน้นท่องเที่ยวและบริการด้านสุขภาพ ซึ่งไทยมีจุดแข็งหลายด้าน บริการ การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแข่งขันจำเป็นต้องย้ายฐานการผลิต ไปต่างประเทศมากขึ้น ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากร อุดมสมบูรณ์และพร้อมเปิดรับการลงทุน จากต่างชาติ FDI มีแนวโน้มผ่อนปรนข้อจำกัดในการทำงานของแรงงานต่างชาติมากขึ้น เพิ่มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้านภาษาและการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทำงาน ที่เป็นสากล แรงงาน การเคลื่อนย้ายเงินทุน เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศเข้าออกได้เสรีมากขึ้น ค่าเงินมีแนวโน้มผันผวน ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการบริหารจัดการด้านต้นทุนและลดความเสี่ยง ด้านอัตราแลกเปลี่ยน

  21. โอกาสการค้าและการลงทุนของไทยโอกาสการค้าและการลงทุนของไทย เป้าหมาย “Trading Hub” ที่มา: Emerging Asian Regionalism (ADB, 2008)

  22. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ที่มา: Asian Development Bank

  23. ไทยกับตลาดการค้าเสรีที่มีประชากร ~ 2,700 ล้านคนโดยมีอาเซียนเป็นศูนย์กลาง อาเซียน-ญีปุ่น ประชากร 127 ล้านคน GDP -5.4% (ปี 2552) อาเซียน-จีน ประชากร 1,338 ล้านคน GDP-5% (ปี 2552) อาเซียน-เกาหลี ประชากร 48 ล้านคน GDP-1.0% (ปี 2552) อาเซียน-อินเดีย ประชากร 1,166 ล้านคน GDP 5.4% (ปี 2552) อาเซียน-นิวซีแลนด์ ประชากร 4.2 ล้านคน GDP -2.2% (ปี 2552) อาเซียน-ออสเตรเลีย ประชากร 21 ล้านคน GDP 0.7% (ปี 2552) ข้อมูล ประชากร จาก CIA GDP จาก IMF 41

  24. ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นฐานการผลิตให้ผู้ประกอบการไทยประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นฐานการผลิตให้ผู้ประกอบการไทย เพื่อผลิตและส่งออกสินค้า เพื่อรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีในรูปแบบต่างๆ EU จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ลูกไม้ถักฟิลิปปินส์ ส่งไปปักในกัมพูชา กระดุมเวียดนาม ผ้ามาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  25. ปัญหาในทางปฏิบัติที่เป็นข้อจำกัดปัญหาในทางปฏิบัติที่เป็นข้อจำกัด ในการใช้ประโยชน์จาก AFTA

  26. ข้อเสนอแนะในการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมเพื่อเข้าสู่ AEC

  27. ข้อเสนอแนะในการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมเพื่อเข้าสู่ AEC

  28. ยุทธศาสตร์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยยุทธศาสตร์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อเตรียมการเข้าสู่ AEC การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ AEC อย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรม ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็น ผลักดัน ติดตาม การส่งเสริมความร่วม มือด้านต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ AEC . ผลักดันให้ AEC เป็นวาระแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน . ส่งเสริมความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียน . ผลักดันให้เกิด ASEAN Single Window (ASW) • การปรับตัวและการพัฒนาอุตสาหกรรมเข้าสู่ AEC • . ผลักดันให้มีการกำหนดมาตรฐานสินค้าสำหรับผู้ประกอบการในประเทศควบคู่กับการกำหนดมาตรฐานเพื่อป้องกันสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานที่มีการนำเข้าจากต่างประเทศ • . เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการ • เตรียมความพร้อมเพื่อการปรับตัวเข้าสู่ AEC (AEC Alert) การเคลื่อนย้ายแรงงานสู่ AEC . ผลักดันภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการภาษาที่ 2 ของประเทศ เพื่อให้แรงงานมีฝีมือได้พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และมีการกำหนดหลักสูตรภาษาอังกฤษให้กับสถาบันอาชีวศึกษา . ผลักดันการผลิตบุคลากรวิชาชีพบริการ 7 สาขา เพื่อรองรับการเข้าสู่ตลาดอาเซียน การพัฒนาโลจิสติกส์ . ผลักดันให้มีการพัฒนาระบบการขนส่งอย่างเป็นรูปธรรม การส่งเสริมการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน .สนับสนุนให้มีการศึกษา/วิจัยข้อมูลเชิงลึกของประเทศสมาชิกอาเซียน .ให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกอบการที่มีการลงทุนในต่างประเทศ การดำเนินงาน ส.อ.ท. ส.อ.ท. และภาครัฐ ภาครัฐ

  29. บทสรุป

More Related