1 / 20

บทที่ 2

บทที่ 2. การวิเคราะห์งาน ( Job analysis). ความหมาย : กระบวนการศึกษารายละเอียดของงานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับงาน ในด้านเนื้อหาของงานและประเภทของบุคคลที่จำเป็นเพื่อการทำงาน ความรับผิดชอบในการวิเคราะห์งาน - พนักงานเจ้าของตำแหน่ง

emerson
Télécharger la présentation

บทที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 การวิเคราะห์งาน (Job analysis)

  2. ความหมาย : กระบวนการศึกษารายละเอียดของงานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับงาน ในด้านเนื้อหาของงานและประเภทของบุคคลที่จำเป็นเพื่อการทำงาน ความรับผิดชอบในการวิเคราะห์งาน - พนักงานเจ้าของตำแหน่ง - ผู้บังคับบัญชา - ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

  3. ข้อมูลที่ต้องรวบรวมเพื่อการวิเคราะห์งานข้อมูลที่ต้องรวบรวมเพื่อการวิเคราะห์งาน ● กิจกรรมที่เกี่ยวกับงาน : กิจกรรมย่อย บันทึกกิจกรรม ระเบียบวิธีปฏิบัติ ● กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพนักงานที่จะต้องสนใจ/ทุ่มเทเป็นพิเศษ : พฤติกรรมบุคคล ความต้องการของงานนั้น ๆ ● เครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือ ● ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่เห็นเป็นนามธรรมและรูปธรรม

  4. : ความรู้ที่ต้องใช้ : วัตถุดิบ : ผลผลิตที่ได้/บริการที่จำเป็นต้องปฏิบัติ ผลงาน : ข้อผิดพลาด มาตรฐานการปฏิบัติงาน เวลาที่ใช้ในการทำงาน ● ส่วนประกอบของงาน : ตารางเวลา การจ่ายค่าตอบแทน สถานภาพการทำงาน และจูงใจ ความต้องการที่เกี่ยวกับบุคคลสำหรับงานนั้น : คุณลักษณะของบุคคล : การศึกษา/การฝึกอบรม : ประสบการณ์

  5. ขั้นตอนในการวิเคราะห์งานขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน 1. ระบุข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ 2. สำรองภูมิหลังขององค์การ 3. เลือกตำแหน่งงานตัวอย่างเพื่อนำมาวิเคราะห์ 4. วิเคราะห์งานจากกิจกรรมของงาน ฯลฯ 5. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับหน้าที่งาน

  6. - ความเหมือนกันของงาน - จำนวนผู้ทำงาน - หน้าที่ต่าง ๆ - เครื่องมือที่ใช้ - การดำเนินงาน - สภาพต่าง ๆ ของงาน - ค่าตอบแทน - ความสัมพันธ์กับงานต่าง ๆ - ประสบการณ์ - ความต้องการทางอารมณ์/ลักษณะนิสัย

  7. เทคนิคที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลเทคนิคที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูล - การสัมภาษณ์ - การตอบแบบสอบถาม - การสังเกต - การใช้บันทึกการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน - การประชุมทางเทคนิค

  8. ข้อมูลสำคัญที่ได้จากการวิเคราะห์งานข้อมูลสำคัญที่ได้จากการวิเคราะห์งาน - คำบรรยายลักษณะงาน (Job Description : JD) - คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน (Job Specification :JS) - การประเมินค่างาน (Job Evaluation : JE) - การแยกประเภทงาน (Job Classification : JC) - เทคนิคการออกแบบงาน (Job Design)

  9. ● คำบรรยายลักษณะงาน : การอธิบายให้ทราบว่างานนั้นคืออะไร มีหน้าที่งานและความรับผิดชอบอะไรบ้าง อาจมีรายละเอียด ดังนี้ - ชื่อตำแหน่งงาน - ที่ตั้งของงาน - ประสบการณ์ - เนื้อหาของงานโดยย่อ - การฝึกอบรม - ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ - เครื่องจักรอุปกรณ์ - วัตถุดิบ - การบังคับบัญชา - ภัยอันตรายที่เกี่ยวข้องกับ งาน

  10. 6. พัฒนาคำบรรยายลักษณะงาน แนวทางการเขียนคำบรรยายลักษณะงาน : ชัดเจนเข้าใจง่าย : ชี้ขอบเขตของอำนาจหน้าที่ : ใช้คำพูดที่ชี้เฉพาะแสดงถึงการกระทำที่ชัดเจน : ข้อความสั้น ถูกต้อง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ : ตรวจสอบซ้ำว่ามีเนื้อหาครบถ้วนหรือไม่

  11. คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน : ข้อความที่บรรยายถึงระดับของปัจจัยที่เป็นคุณสมบัติผู้ทำงานจะต้องมีอย่างเพียงพอ : การศึกษา : ประสบการณ์ : การอบรม : การใช้ดุลยพินิจ : ความคิดริเริ่ม : การใช้แรงกาย : ความชำนาญการทางด้านร่างกาย : ความรับผิดชอบ : ความสามารถเชิงติดต่อสื่อสาร : ลักษณะอารมณ์ : ความสามารถของโสตประสาทที่ต้องมีเป็นพิเศษ

  12. แนวทางการเขียนคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานแนวทางการเขียนคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน : คุณสมบัติของผู้เคยได้รับการฝึกอบรมจะต้องแตกต่างกับคุณสมบัติผู้ไม่เคยฝึกอบรม : การพิจารณากำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานควรกำหนดโดยผู้เชี่ยวชาญ : การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานโดยใช้สถิติเป็นวิธีที่ดีที่สุด

  13. ตัวอย่างคำบรรยายลักษณะงาน และการกำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน

  14. การประเมินค่าของงาน (Job & valuation) : การพิจารณาตรวจสอบเปรียบเทียบงานเพื่อกำหนดโครงสร้างของค่าจ้างให้มีความยุติธรรมและเหมาะสม วิธีการประเมินค่างาน 1.จัดลำดับค่าของงาน 2.พิจารณามาตรฐานงาน 3.ให้คะแนน โดยอาศัยการเปรียบเทียบค่าของงาน

  15. ● การออกแบบงาน(Job design) : กระบวนการกำหนดงานของพนักงานด้วยลักษณะของโครงสร้างให้สอดคล้องกับลักษณะของคนทำงานเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์การ เทคนิคการออกแบบ การหมุนเวียนงาน : การเคลื่อนย้ายพนักงานจากงานหนึ่งไปอีกงานหนึ่ง ● การขยายปริมาณงาน(Job enlargment) : เพิ่มปริมาณงานแต่ระดับความรับผิดชอบเท่าเดิม

  16. ตัวแบบคุณลักษณะของงาน (Job characteristics models) : เพิ่มคุณค่าของงานโดยเพิ่มคุณลักษณะความรับผิดชอบของงาน 5 ประการคือ ความหลากหลายของทักษะ ความเป็นเอกเทศในตัวของงาน ความสำคัญของงาน ความมีอิสระและการย้อนกลับ ● การเพิ่มหน้าที่ความรับผิดชอบ (Job enrichment) : เปลี่ยนแปลงเนื้อหาและความรับผิดชอบของงานเพื่อให้พนักงานใช้ความสามารถมากขึ้น

  17. การสร้างกลุ่มงานโดยธรรมชาติ - การรวมงาน - การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า - การดำเนินการในแนวดิ่ง - การเปิดช่องทางให้มีการป้อนกลับข้อมูลอย่างเปิดเผย ● การทำงานเป็นทีม(Team work) - ทีมแก้ปัญหา - ทีมโครงงานพิเศษ - ทีมการจัดการด้วยตัวเอง

  18. การวิเคราะห์งาน ประโยชน์ที่นำไปใช้ ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน - การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ - การสรรหาและคัดเลือก - การกำหนดค่าตอบแทน - การออกแบบและปรับปรุงงาน - การประเมินผลการปฏิบัติงาน - การพัฒนาบุคลากร - การปรับปรุงสภาพการทำงาน ข้อมูลที่ได้ - คำบรรยายลักษณะงาน - คุณสมบัติของพนักงาน - การประเมินค่างาน - แนวทางการออกแบบงาน

  19. กิจกรรมทบทวนความรู้ ให้นักศึกษาช่วยกันเขียนคำบรรยายลักษณะงานและคุณสมบัติของพนักงานที่เหมาะสมสำหรับตำแหน่งงานนั้น

More Related