1 / 14

นางอรัญญา เครือเทียน นางพุทธรักษ์ มูลทองสุก พยาบาลวิชาชีพ ห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท

การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท ห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร. The Development of a Clinical Nursing Practice Guideline for Pain Assessment and Pain Management in Critical Patients Neurosurgery.

emilyj
Télécharger la présentation

นางอรัญญา เครือเทียน นางพุทธรักษ์ มูลทองสุก พยาบาลวิชาชีพ ห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท ห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร The Development of a Clinical Nursing Practice Guideline for Pain Assessment and Pain Management in Critical Patients Neurosurgery. นางอรัญญา เครือเทียน นางพุทธรักษ์ มูลทองสุก พยาบาลวิชาชีพ ห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท กลุ่มภารกิจการพยาบาล โรงพยาบาลสกลนคร

  2. หลักการและเหตุผล(ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา)หลักการและเหตุผล(ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา) อาการปวดภายหลังผ่าตัด การทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท

  3. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. พัฒนาแนวปฏิบัติในการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร 2. ศึกษาความพึงพอใจของพยาบาลต่อแนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร

  4. สมมติฐานการวิจัย 1. ผลลัพธ์ของการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาทหลังการพัฒนาดีขึ้นกว่าก่อนการพัฒนา 2. ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท ภายหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนา

  5. ขอบเขตการวิจัย - รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi–Experimental Research Design) ระหว่างเดือนตุลาคม 2561- เดือนมีนาคม 2562 รวมระยะเวลา 6 เดือน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - ผู้ป่วยหนักศัลยกรรมประสาท 60คน - พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร จำนวน 13 คน

  6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท แบบทดสอบความรู้ เรื่อง การใช้แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบประเมินนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อแนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท

  7. ขั้นตอนและวิธีการวิจัยขั้นตอนและวิธีการวิจัย ขั้นตอนที่ 1ระยะก่อนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2ระยะพัฒนา ขั้นตอนที่ 3 ระยะทดลองใช้แนวปฏิบัติและประเมินผลแนวปฏิบัติ

  8. การดิเคราะห์ข้อมูล • SPSS version 23 • แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • Chi-square, Independence t-test และ Relative risk

  9. ผลการวิจัย 1.กลุ่มตัวอย่างที่ใช้แนวปฏิบัติฯ (กลุ่มทดลอง) มีผลลัพธ์ดีกว่าทุกตัวชี้วัด ดังนี้ คือ ได้รับการประเมินความปวดครบถ้วนสมบูรณ์อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมงมากกว่า ร้อยละ 98.3 และ 8.3 กล่าวคือมากกว่า ถึง 55.5 เท่า (RR = 55.5, 95% CI = 7.9-384.7) ได้รับการจัดการความปวดมากกว่า คือร้อยละ 82.9 และ ร้อยละ 59.3 กล่าวคือ มากกว่าถึง 2.3 เท่า (RR =2.3, 95% CI = 1.4-3.8)ได้รับการประเมินความปวดซ้ำมากกว่าคือ ร้อยละ 61.7 และ 1.7 หรือมากกว่าถึง 2.5 เท่า (RR =2.5, 95% CI =1.9-3.5) ผลการบรรเทาความปวดไม่แตกต่างกนั คือ ค่าคะแนนความปวดที่ลดลงหลังได้รับการจัดการความปวดของทั้งสองกลุ่ม เฉลี่ยเท่ากับ 3.5 และ 3.6 คะแนน

  10. ผลการวิจัย 2.ความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติฯ อยู่ในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจต่อการได้รับการจัดการความปวดที่ดีของผู้ป่วยของแนวฯ อยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศองค์กรที่ดี ของแนวปฏิบัติฯ อยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจต่อการมีทีมงานที่ดีของแนวปฏิบัติฯ อยู่ในระดับมาก และความพึงพอใจโดยภาพรวมของแนวฯ อยู่ในระดับมากที่สุด

  11. อภิปรายผลการวิจัย 1. แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร 2.ความพึงพอใจของพยาบาลต่อแนวปฏิบัติความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมง ในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท

  12. ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. การใช้แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมงในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร สามารถช่วยจัดการความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เข้าใจกระบวนการวิจัยและสถิติในการวิจัยทางการพยาบาลได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 3. ไ ควรสนับสนุนให้มีการใช้ปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมงในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท ที่พัฒนาขึ้นในการสื่อสารกับทีมสุขภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น

  13. ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยต่อไปข้อเสนอแนะในการทำวิจัยต่อไป 1. ควรใช้แนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมงในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนครเป็นต้นแบบ ในการศึกษาวิจัยสำหรับหอผู้ป่วยอื่นๆ 2.เป็นข้อมูลสำหรับการวิจัยเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมินและจัดการความปวดหลังผ่าตัดสมอง 24-48 ชั่วโมงในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร ในโรงพยาบาลอื่น ๆ ต่อไป

  14. ขอบคุณค่ะ

More Related