1 / 27

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการข้อมูล ข่าวสารสุขภาพ แห่งชาติ

เชื่อมโยงสู่การดูแลประชาชนอย่างมีพลังในภาวะภัยพิบัติ 14 สิงหาคม 2555. นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการข้อมูล ข่าวสารสุขภาพ แห่งชาติ. Information is for ?. DECISION MAKING. & DECISIONs are made at Every levels of actions. Data Information & Knowledge Relationship.

Télécharger la présentation

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการข้อมูล ข่าวสารสุขภาพ แห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชื่อมโยงสู่การดูแลประชาชนอย่างมีพลังในภาวะภัยพิบัติเชื่อมโยงสู่การดูแลประชาชนอย่างมีพลังในภาวะภัยพิบัติ 14 สิงหาคม 2555 นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ

  2. Information is for ? DECISION MAKING & DECISIONs are made at Every levels of actions

  3. Data Information & Knowledge Relationship

  4. Health Informatics: Formal discipline that studies use of information in health eHealth, HIS, etc Statistical IS All information about health eHealth HMIS mHealth HIS Tele-medicine Credited: Karl Brown, Rockefeller Foundation Enterprise architecture: How all these pieces fit together

  5. ระบบสารสนเทศสุขภาพ หมายถึงระบบที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล สารสนเทศ และความรู้เพื่อวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับทุกมิติของสุขภาพ จะเห็นได้ว่าระบบสารสนเทศสุขภาพมีความหมายที่ครอบคลุมกว้างขวางมาก ไม่จำกัดเฉพาะงานด้านชีวการแพทย์(biomedical) และด้านสาธารณสุข(public health) ไม่ได้เกี่ยวข้องเฉพาะกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ และสาธารณสุขเท่านั้น แต่เป็นระบบที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ ทุกกิจกรรม ทุกองค์กรที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ “สุขภาพ” ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา ความมั่นคง เศรษฐกิจและสังคมส่วนรวม และเป็นความสัมพันธ์ 2 ทาง ทั้งในฐานะผู้ใช้และถูกใช้

  6. HMN Health Information Data Sources HMN = Health Metrics Network, WHO

  7. Thailand’s Population-Based Health Information • Vital registration (Ministry of Interior) • Population and Housing Census (National Statistics Office) • Household surveys (National Statistics Office) • Health surveys (Health System Research Institute/MOPH)

  8. สำนักงานบริหารการทะเบียนMinistry of Interior Central Registry กระทรวงสาธารณสุข Ministry of Public Health Compile, code, validate and process statistics Electronic files สถิติชีพ Printed/ Web Vital statistics report Report statistics back to provinces Web entry Birth certificate (Start 2010) Data Sync. Web entry death certificates (start 2006) สปสช. National Health Security Office Provincial Health offices Hospitals

  9. Electronic file transfer monthly ICD-10 coding at MoPH(BPS) Ministry of Interior On-line system Death registration at district office or municipality Medical death certificate form (In-hospital) with COD Death notification form (Non-hospital) with COD Death certificate by doctor Death notification by village head Death inside hospital Death outside hospital 62% 38%

  10. ระบบข้อมูลของ สปสช. • eClaim • Disease Management IS : NAP, DM, PPIS • OP individual etc. • ระบบข้อมูลของกรมบัญชีกลาง • ระบบข้อมูลของประกันสังคม • ระบบข้อมูลของพรบ.อุบัติเหตุ

  11. eHealth Foundations 1

  12. eHealth Foundations 2

  13. eHealth Applications

  14. มีระบบข้อมูล และตัวชี้วัดที่สนองโครงการฯต่างๆมากมายซ้ำซ้อน ไม่บูรณาการ • บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขใช้เวลาถึง 40% ของเวลาทำงานจัดการรายงานและข้อมูลที่คนอื่นต้องการ • ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลสุขภาพของตน • ไม่มีหน่วยงานระดับประเทศในการชี้นำการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ • ขาดการดำเนินการเพื่อวางรากฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ เช่นมาตรฐานข้อมูล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และความเป็นส่วนตัวของการใช้ข้อมูลสุขภาพโดยเฉพาะ

  15. ความสำคัญลำดับต้นของการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพความสำคัญลำดับต้นของการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ • มีหน่วยงานระดับประเทศเพื่อวางนโยบาย และกำกับดูแลการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพของประเทศ • วางรากฐานด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ เพื่อบูรณาการระบบข้อมูลและเกิดการใช้ และการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างกว้างขวาง • มีกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับระบบข้อมูลสุขภาพโดยเฉพาะ • มีการผลิต และพัฒนาบุคลากรด้านระบบข้อมูลสุขภาพอย่างเป็นระบบและเพียงพอ

  16. improve health care quality • prevent medical errors • increase the efficiency of care provision • reduce unnecessary health care costs • increase administrative efficiencies • decrease paperwork • expand access to affordable care • improve population health

  17. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ

  18. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ เพื่อให้เกิดมาตรฐาน และใช้ประโยชน์ได้ทั่วถึง และยั่งยืน • เริ่มจากระบบย่อยที่มีผลกระทบภาคีที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก และมีแรงจูงใจในระบบที่สูง _ ระบบเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลในระบบหลักประกันสุขภาพ • พัฒนาต่อยอดสู่ระบบเพื่อการดูแลสุขภาพประชาชนในหน่วยบริการต่างๆ • เชื่อมโยงระบบสู่การใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ ในระดับสูงขึ้น เช่นการพัฒนานโยบาย การกำกับติดตาม การวางแผนประเมินผล (ทดแทนระบบรายงานแบบเด็ดยอดและเพิ่มภาระ)

  19. ตัวอย่างประโยชน์ของระบบที่เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนได้ง่าย ในกรณีภัยพิบัติ • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลพิเศษ และการจัดระบบการดูแลในศูนย์ • การลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือ หรือจัดระบบสนับสนุน เข้าถึงประชาชนที่มีความต้องการเฉพาะ แต่อาจไม่จำเป็นต้องการรวมศูนย์ดูแล (เช่นการเยี่ยมบ้าน หรือการได้รับยาต่อเนื่อง) • การเคลื่อนย้ายส่งต่อผู้ป่วยระหว่าง รพ ในกรณีที่จำเป็น จะเกิดการดูแลต่อเนื่องได้รวดเร็วและดียิ่งขึ้น • การจัดการความเสี่ยงในสิ่งแวดล้อม_ สุขาภิบาล เส้นทางคมนาคม

  20. ตัวอย่างประโยชน์ของระบบที่เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนได้ง่าย ในกรณีภัยพิบัติ • การจัดการมลพิษ หรือสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (การจัดเก็บ สารเคมีในบ้าน หรือเพื่อการเกษตร ในโรงงาน) • การระดมทรัพยากรเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดการความเสี่ยง และดูแลประชาชน (ข้อมูลทรัพยากรทั้งบุคลากร เครื่องมือ และโครงสร้าง ในองค์กรต่างๆในพื้นที่) • ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง หรือร่วมมือกับความพยายามในการจัดระบบการดูแลสุขภาพ และภัยพิบัติในยามฉุกเฉินได้ดีขึ้น • ฝ่ายต่างๆที่มีศักยภาพ สามารถรับรู้สถานการณ์ หรือความต้องการการดูแล/ช่วยเหลือ โดยไม่ต้องรอการสั่งการจากศูนย์บัญชาการเดียว

More Related