360 likes | 558 Vues
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี วันที่ 7 8 และ 10 กุมภาพันธ์ 2555. โดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน). - 1 -. ประเด็นการนำเสนอ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไร
E N D
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเองสมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี วันที่ 7 8 และ 10 กุมภาพันธ์ 2555 โดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) - 1 -
ประเด็นการนำเสนอ • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไร • คำและความหมายที่น่ารู้ในการเลือกนโยบายการลงทุนของสมาชิก • ความรู้เรื่องการลงทุน • ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกนโยบายการลงทุน • แนวทางการเลือกนโยบายการลงทุน - 2 -
1. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คืออะไร - 3 -
เป็นการออมแบบสมัครใจ องค์ประกอบของเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สมาชิก นายจ้างกำหนดอัตราเงินสะสม 2% - 15% ของค่าจ้างตามที่กฎหมายกำหนดไว้ นายจ้าง เงินสมทบ มากกว่าหรือ เท่ากับอัตราเงินสะสมของ ลูกจ้างแต่ไม่เกิน 15% - 4 -
องค์ประกอบของเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพองค์ประกอบของเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินสะสม เงินสมทบ นำไปลงทุนเกิด ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ของเงินสมทบ เงินสมทบ มากกว่าหรือ เท่ากับเงินสะสม เงินสะสม (2%-15%) ผลประโยชน์ ของเงินสะสม - 5 -
สถานภาพของกองทุน • กองทุนที่จดทะเบียนแล้ว จะมีสถานะเป็นนิติบุคคล แยกต่างหากจากกิจการของนายจ้าง • สิทธิเรียกร้องเงินจากกองทุนไม่อาจ • โอนกันได้ และไม่อยู่ในความรับผิดแห่ง • การบังคับคดี - 6 -
ความมั่นคงปลอดภัยของทรัพย์สินความมั่นคงปลอดภัยของทรัพย์สิน ปลอดภัยสูง เพราะทรัพย์สินของกองทุนแยกต่างหากจาก ทรัพย์สินของนายจ้าง สมาชิกจึงไม่ได้รับผลกระทบหากนายจ้าง ต้องปิดกิจการ - 7 -
บุคคลที่สมาชิกควรรู้จักบุคคลที่สมาชิกควรรู้จัก สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุน นายจ้าง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทจัดการ ผู้รับฝาก ทรัพย์สิน ผู้สอบบัญชี นายทะเบียนสมาชิก - 8 -
สิทธิประโยชน์ทางภาษี ที่ได้รับจากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - 9 -
สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ -หักลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน10,000บาท - ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท ไม่ต้องนำไปรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้ ลูกจ้าง เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุน เงินที่ได้รับจากกองทุน เฉพาะส่วน ที่เป็นเงินสมทบ ผลประโยชน์เงิน สะสม และผลประโยชน์เงินสมทบ เมื่อพ้นสมาชิก ภาพจากกองทุน ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยต้องนำเงินสมทบรวมทั้ง ผลประโยชน์ของเงินสะสมและ เงินสมทบไปรวมคำนวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้ประจำปี ได้รับยกเว้นภาษีทั้งจำนวน หมายเหตุ: กรณีเกียณอายุ 55 ปี มีสมาชิกภาพ < 5 ปี อาทิเช่น 3 ปีสามารถ คงเงินไว้ ในกองทุนอีก 2 ปี จนสมาชิกภาพครบ 5 ปีโดยมีค่า คงเงินจำนวน 500 บาทจึง เอาเงินออกจากกองทุนเพื่อได้ รับยกเว้นภาษีทั้งก้อน มีสิทธิเลือกเสียภาษีแบบแยกยื่น โดยหักค่าใช้จ่ายได้ 7,000บาท คูณอายุงานเหลือเท่าใดให้หัก ค่าใช้จ่ายได้อีกร้อยละ50 ไม่เกษียณอายุ และ อายุงาน >=5 ปี อายุงาน น้อยกว่า 5 ปี เกษียณโดยมีอายุ>= 55 ปี และมีอายุสมาชิก>= 5 ปี - 10 -
การยกเว้นภาษีของเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 188)และ (ฉบับที่ 202) สมาชิกจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินที่ได้รับจากกองทุนเมื่อสมาชิกมีคุณสมบัติ ดังนี้ • ตาย หรือทุพพลภาพ • เกษียณอายุ โดย • เกษียณอายุตามข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในเวลาที่ออกจากงาน* • มีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์ • ต้องเป็นสมาชิกมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีต่อเนื่องกัน ถ้าเป็นสมาชิกยังไม่ถึง 5 ปีต่อเนื่องกัน ต้องเป็นสมาชิกไปจนมีระยะเวลาการเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 5 ปีต่อเนื่องกัน • ออกจากงานและได้คงเงินไว้กับกองทุนทั้งจำนวน • ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันกับการเกษียณอายุข้างต้น หมายเหตุ* เกษียณอายุตามข้อบังคับการทำงานของนายจ้าง - 11 -
2. คำและความหมายที่น่ารู้ใน • การเลือกนโยบายการลงทุนของสมาชิก • Employee’s Choice • นโยบายการลงทุน • Master Fund • Sub Fund - 12 -
Employee’s choice คืออะไร ? คือ…การเปิดโอกาสให้สมาชิกเลือก นโยบายลงทุนได้ตามความเหมาะสมกับตนเอง เพื่อตอบสนองลักษณะและความต้องการของสมาชิกแต่ละคนซึ่งแตกต่างกัน นโยบายลงทุน คืออะไร ? คือ…การกำหนดขอบเขตในการบริหารกองทุนซึ่งคณะกรรมการกองทุนได้ตกลงไว้กับบริษัทจัดการ และผู้จัดการกองทุนจะบริหารหรือลงทุนเงินกองทุน ในกรอบหรือสัดส่วนที่กำหนดไว้ - 13 -
Master Fund คืออะไร ? คือ…กองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่มีหลายนโยบายลงทุน (Sub Fund) Sub Fund คืออะไร ? คือ…นโยบายลงทุนย่อยซึ่งอยู่ภายใต้ Master Fund โดยกำหนดความเสี่ยงที่แตกต่างกันในแต่ละนโยบายย่อย เพื่อสร้างโอกาสให้สมาชิกเลือกตามความพอใจ - 14 -
3. ความรู้เรื่องการลงทุน • ทางเลือกการลงทุน • ประเภทของการลงทุน - 15 -
การลงทุน ...... • เพื่อแสวงหาโอกาสในการทำกำไร • เพื่อสร้างโอกาสในการได้ผลตอบแทน ที่ดีกว่าการฝากเงิน • เงินลงทุนอาจมีช่วงเวลาที่ถูก lock ไว้ การลงทุน มีความเสี่ยง แต่ผลตอบแทน คือสิ่งที่ผู้ลงทุนคาดหวังจากความเสี่ยง - 16 -
ทางเลือกการลงทุน ตลาดเงิน ตลาดตราสารหนี้ ตลาดทุน - 17 -
1. ตลาดเงิน เช่น เงินฝากธนาคาร , ตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N), บัตรเงินฝาก (NCD) ปัจจัยพื้นฐาน : ความน่าเชื่อถือ ความมั่นคง ฐานะผู้ลงทุน : ผู้ฝากเงิน/เจ้าหนี้ ลำดับในการเรียกร้อง สิทธิ์ในการชำระหนี้ : เท่ากับเจ้าหนี้ สถานภาพของผู้ลงทุน
2. ตลาดตราสารหนี้ - ตราสารหนี้ภาครัฐ เช่น ตั๋วเงินคลัง, พันธบัตรรัฐบาล - ตราสารหนี้ภาคเอกชน เช่น หุ้นกู้, ตั๋วแลกเงิน ปัจจัยพื้นฐาน : ความสามารถในการชำระหนี้ ฐานะผู้ลงทุน : เจ้าหนี้ ตามลำดับชั้น - ไม่ด้อยสิทธิ - ด้อยสิทธิ สูง - ไม่ด้อยสิทธิ - ด้อยสิทธิ ลำดับในการเรียกร้อง สิทธิ์ในการชำระหนี้ : เจ้าหนี้ ตามลำดับชั้น สถานภาพของผู้ลงทุน ต่ำ
ตราสารทางการเงินที่แสดงความเป็นหนี้ระหว่างกัน ผู้ออกตราสาร เป็นผู้กู้ (หรือลูกหนี้) ผู้ซื้อ เป็นผู้ให้กู้ (หรือเจ้าหนี้) ผู้ออกตราสารตกลงที่จะจ่ายดอกเบี้ย และจ่ายคืนเงินต้น ตามเวลาที่กำหนด โดยได้ผลประโยชน์หรืออัตราผลตอบแทนและสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือกันได้จนกว่าจะหมดอายุของตราสาร ในประเทศไทยนิยมเรียกตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลหรือองค์กรของรัฐว่า พันธบัตร (Bond) และเรียกตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชนว่า หุ้นกู้ (Debenture) ตราสารหนี้คืออะไร? ผู้ออกตราสาร ผู้ซื้อ - 20 -
อัตราดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนที่ผู้ออกตราสารต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนที่ผู้ออกตราสารต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือตราสารหนี้ กำไร/ขาดทุนจากการขาย (Capital Gain/Loss) ซึ่งอาจเป็นสาเหตุมาจากการที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดปรับขึ้นหรือลง อัตราผลตอบแทนในการลงทุนในตราสารหนี้ อัตราดอกเบี้ยในตลาดราคาตราสารหนี้ อัตราดอกเบี้ยในตลาด ราคาตราสารหนี้ - 21 -
3. ตลาดตราสารทุน เช่น หุ้นบุริมสิทธิ , หุ้นสามัญ ปัจจัยพื้นฐาน : ความสามารถในการดำเนินงาน /ผลกำไร การเจริญเติบโต ฐานะผู้ลงทุน : ผู้ถือหุ้น = เจ้าของ - หุ้นบุริมสิทธิ์ - หุ้นสามัญ สูง ลำดับในการเรียกร้อง สิทธิ์ในการชำระหนี้ : หลังจากเจ้าหนี้ทุกประเภท สถานภาพของผู้ลงทุน ต่ำ
ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่แสดงความเป็นเจ้าของกิจการในฐานะผู้ถือหุ้น • มีความเสี่ยงมากกว่าการลงทุนในตราสารหนี้เพราะสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินของกิจการอยู่ในลำดับหลังเจ้าหนี้ กรณีบริษัทต้องชำระบัญชีเลิกกิจการ • มีส่วนแบ่งในกำไรของกิจการอย่างเต็มที่ ในรูปของเงินปันผล • ได้รับกำไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น ที่ซื้อขายทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์ด้วย • ตัวอย่างตราสารทุน : หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ - 23 -
ความเสี่ยง ลำดับความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละประเภท ความเสี่ยงสูง 6. หุ้นบุริมสิทธิ, หุ้นสามัญ และตราสารอนุพันธ์ 5. หุ้นกู้บริษัทเอกชน, หุ้นกู้ด้อยสิทธิสถาบันการเงิน 4. ตั๋วสัญญาใช้เงิน, ตั๋วแลกเงิน, หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิสถาบันการเงิน • 3. เงินฝากธนาคาร,บัตรเงินฝาก 2. พันธบัตรรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ที่รัฐบาลค้ำ และไม่ค้ำประกัน 1. ตั๋วเงินคลัง ความเสี่ยงต่ำ - 24 -
4. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกนโยบายลงทุน - 25 -
เลือกนโยบายลงทุนควรให้สอดคล้องกับเลือกนโยบายลงทุนควรให้สอดคล้องกับ • อายุ • ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ • อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ วัยเริ่มต้นทำงาน วัยกลางคน วัยใกล้เกษียณ
รายได้กับวัฏจักรชีวิตรายได้กับวัฏจักรชีวิต รายได้ รายได้ รายจ่าย อายุ (ปี) 18-22 60 75-80 เกิด เรียนจบ เกษียณอายุ ตาย
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุน 60 ปี ขึ้นไป ดำรงชีวิตและรักษาพยาบาล - 28 -
คำถาม?? เพื่อกำหนดเป้าหมายเงินลงทุน • 1. เหลือเวลา...กี่ปีจะเกษียณ • 2. เกษียณแล้วจะทำงานอีกหรือไม่ • 3. เลิกทำงานแล้วคาดว่าจะอยู่ต่อไปอีกกี่ปี • ( ชาย 74 หญิง 79 ) • เมื่อหมดรายได้จากการทำงานแล้วยังมีภาระค่าใช้จ่าย • สำหรับตนเองและบุคคลอื่นอีกหรือไม่ - 29 -
5. แนวทางการเลือกนโยบายลงทุน - 30 -
ประเภทกองทุน ที่กำหนดให้สมาชิกเลือก - 31 -
อัตราผลตอบแทนย้อนหลังอัตราผลตอบแทนย้อนหลัง
อัตราผลตอบแทนย้อนหลังสะสม เปรียบเทียบอัตราเงินเฟ้อสะสม
Employee’s ChoicePlan แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับสมาชิก สมาชิกแจ้งเปลี่ยน นโยบายได้ทุกปี สมาชิกเลือก Sub Fund มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มกราคมของปีถัดไป ช่วงเวลาแจ้งเปลี่ยน นโยบายการลงทุนเดือน พฤศจิกายนของทุกปี • เลือกนโยบาย ตาม3 แผนการลงทุน • ที่กำหนดไว้ - 35 -
มันสมองทางการลงทุนที่คุณวางใจมันสมองทางการลงทุนที่คุณวางใจ บลจ. ที่มีผู้ถือหุ้นใหญ่คือกระทรวงการคลัง - 36 - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว (17 กุมภาพันธ์ 2552)