1 / 29

การประเมินสภามหาวิทยาลัย

การประเมินสภามหาวิทยาลัย. โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ. สภามหาวิทยาลัย. ทำไมต้องประเมิน ประเมินอะไร ประเมินอย่างไร. ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ

enye
Télécharger la présentation

การประเมินสภามหาวิทยาลัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินสภามหาวิทยาลัยการประเมินสภามหาวิทยาลัย โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ

  2. สภามหาวิทยาลัย • ทำไมต้องประเมิน • ประเมินอะไร • ประเมินอย่างไร

  3. ปรัชญาก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพปรัชญาก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ • Breaking Barriers Towards a Millennium of Quality • ปณิธานประเมินเพื่อพัฒนา......อย่างต่อเนื่อง • Assessing for Continual Improvement • วิสัยทัศน์คงความเชี่ยวชาญขององค์กร เพิ่มความเชื่อมั่น • ของประชาคม สร้างความเชื่อใจให้ประชาชน • ONESQA’s Maintaining Competency, Increasing • Creditability, and Enhancing Public Confidence

  4. พันธกิจประเมินคุณภาพและพันธกิจประเมินคุณภาพและ • รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา • Assessing and Accrediting the Quality of Educational Institutions นโยบายหมื่นมิตร

  5. ก้าวข้ามขีดจำกัด Overcome Limitations คิดสร้างสรรค์ Nurture Creativity ขับเคลื่อนจริยธรรม Enhance Ethics รับผิดชอบต่อสังคมSocial Responsibility สำนึกคุณภาพ Quality Awareness องค์กรกัลยาณมิตร Amicable Agency 5

  6. หลักการ ประเมินเพื่อพัฒนา....... อย่างต่อเนื่อง

  7. ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ ๒ ๑ ๓ ตัวบ่งชี้ มาตรการ ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน มาตรการเทียบเคียง

  8. ประเด็น / สาระสำคัญ

  9. คุ้มค่า/คุณค่า • งบประมาณ • อาคาร สถานที่ • เครื่องมือ • ยานพาหนะ • บุคลากร • ฯลฯ

  10. ความปลอดภัย • ชีวิต / จิตวิญญาณ • ทรัพย์สิน • สิ่งแวดล้อม • ฯลฯ

  11. ความรับผิดชอบ • การบริการตามปรัชญา / วัตถุประสงค์ • ความพร้อมในการให้บริการ • ความเชี่ยวชาญในสาขา • ความจำเป็นของสังคม • ฯลฯ

  12. ความทันสมัย • ความเป็นไทย / สากล • ความพร้อม สู่ ASEAN Community • ความเป็นผู้นำในระดับนานาชาติ • ฯลฯ

  13. ความดี • การปฏิบัติตามกฏระเบียบ • การธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ • การป้องกัน แก้ไข ปัญหา • การไม่เอาเปรียบสังคม • ฯลฯ

  14. ความเกื้อกูล / ความร่วมมือ • ภายใน / ระหว่างสถาบัน • ภาครัฐ / เอกชน (ภาคอุตสาหกรรม) • ระดับเดียวกัน / ต่างระดับ • ใน / ระหว่าง ประเทศ • ฯลฯ

  15. ความสมเหตุ สมผล • IQA-EQA • ระหว่างตัวบ่งชี้ • การบริหาร-คุณภาพบัณฑิต • ฯลฯ

  16. ความต่อเนื่อง • อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต • การดำเนินการ • ฯลฯ

  17. การมีส่วนร่วม • นิสิต / นักศึกษา • อาจารย์ / บุคลากร • ผู้บริหาร / กรรมการ • ผู้ปกครอง • ชุมชน • ฯลฯ

  18. ความคิดสร้างสรรค์ • ความริเริ่ม • ความหลากหลาย • ฯลฯ

  19. สภามหาวิทยาลัย: ความรับผิดชอบเชิงนโยบาย • คุณภาพ บัณฑิต • คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ • คุณภาพ การบริการวิชาการ • คุณภาพ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • คุณภาพ การบริหาร • คุณภาพ กรรมการสภา • อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ / มาตรการส่งเสริม • ฯลฯ

  20. (ร่าง) ตัวบ่งชี้การประเมินกรรมการสภามหาวิทยลัย

  21. แบบทดสอบ • 1. ชื่อมหาวิทยาลัย....................................................................... • ปรัชญา..............ปณิธาน.................วิสัยทัศน์..............พันธกิจ............... • อัตลักษณ์..................เอกลักษณ์.................มาตรการส่งเสริม................... • 2. ให้บริการ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ............คณะ • สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ............คณะ • สาขาสังคมศาสตร์ ............คณะ • สาขามนุษยศาสตร์ ............คณะ • 3. ให้บริการนอกที่ตั้ง......................แห่ง สาขา.......................... • 4. จำนวนอาจารย์................คน วุฒิ ป.ตรี ร้อยละ..................... • วุฒิ ป.โท ร้อยละ..................... • วุฒิ ป.เอก ร้อยละ.....................

  22. 5. จำนวน ผศ. ร้อยละ................ รศ. ร้อยละ................ ศ. ร้อยละ................ • 6. จำนวนนักศึกษา..........................คน • 7. สัดส่วน อาจารย์ : นักศึกษา คือ ................ : …………… • 8. จำนวนผลงานวิจัย และผลงานทางวิชาการ.....................ชิ้น / ปี • 9. ผลประเมิน IQA # คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................ • 10. ผลประเมิน EQA# คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................

  23. ส วั ส ดี

More Related