1 / 12

การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม

การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม. เสนอ อาจารย์ ปัณณิ กา ไยนวล โดย นางสาวเกวลี แสนหลวง เลขที่ 2 นายสุชาติ แซ่เฒ่า เลขที่ 19 นายมงคล ร่มโพธิ์พระคุณ เลขที่ 20 นายประเสริฐ เทิดชัย กียรติ เลขที่ 21 นายไพโรจน์ เลาหาง เลขที่ 22 นายฟุ้งเกียรติ วิสัยทัศนกุล เลขที่ 23.

eric-hull
Télécharger la présentation

การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขนส่งและการโคจรของดาวเทียมการขนส่งและการโคจรของดาวเทียม เสนอ อาจารย์ ปัณณิกา ไยนวล โดย นางสาวเกวลี แสนหลวง เลขที่ 2 นายสุชาติ แซ่เฒ่า เลขที่ 19 นายมงคล ร่มโพธิ์พระคุณ เลขที่ 20 นายประเสริฐ เทิดชัยกียรติ เลขที่ 21 นายไพโรจน์ เลาหาง เลขที่ 22 นายฟุ้งเกียรติ วิสัยทัศนกุล เลขที่ 23

  2. การขนส่งและการโคจรของดาวเทียมการขนส่งและการโคจรของดาวเทียม

  3. ยุคสำรวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2500เมื่อสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก1ขึ้นไปในอวกาศ หลังจากนั้นสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก 1โดยมีสุนัขตัวเมียขึ้นไปในอวกาศด้วย ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์เข้าสู่วงโคจรของโลกในปี พ.ศ. 2501ในการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศ จะต้องอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุกอย่างเข้าสู่พื้นโลก ความเร็วของจรวดหรือยานอวกาศที่สามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เรียกว่า ความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจร (characteristic velocity)

  4. s แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์ 1

  5. แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1 ผู้ที่ชูแบบจำลองคนซ้ายคือ ดร. วิลเลียมเอช.พิกเคอริง ประธานเจพีแอล คนกลางคือ ดร. เจมส์ เอ, แวนอัลเลน คนขวาคือ เวอร์เนอร์ ฟอน บราวน์ (ภาพจาก NASA)ในการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศ จะต้องอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุกอย่างเข้าสู่พื้นโลก ความเร็วของจรวดหรือยานอวกาศที่สามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เรียกว่า ความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจร (characteristic velocity) ยิ่งสูงค่าความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจรมีค่ามากขึ้น ดังตารางต่อไปนี้

  6. ถ้าต้องการให้จรวดสามารถขึ้นสู่อวกาศได้จะต้องขับเคลื่อนด้วยความเร็วมากกว่า 7.91กิโลเมตร/วินาที แต่ถ้าใช้ความเร็วในการขับเคลื่อน 8.10กิโลเมตร/วินาที จรวดจะขึ้นไปโคจรในระดับสูง 322กิโลเมตร เป็นต้นสำหรับดาวเทียมที่ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกนั้น จะต้องมีความเร็วในการโคจรรอบโลกค่าหนึ่งซึ่งเรียกว่า ความเร็วในวงโคจรที่เป็นวงกลม (circular velocity) ถ้าดาวเทียมมีความเร็วในวงโคจรน้อยไป จะตกลงสู่พื้นโลก แต่ถ้ามีความเร็วในวงโคจรมากเกินไป จะหลุดจากวงโคจรรอบโลกได้ ความเร็วในวงโคจรในแต่ละระดับความสูงจะมีค่าต่างกัน ยิ่งสูงความเร็วในวงโคจรยิ่งลดลง ส่วนเวลาที่ดาวเทียมโคจรรอบโลก 1รอบ เรียกว่า คาบของการโคจร จะมีค่าเพิ่มขึ้น ดังตาราง

  7. จากตารางจะเห็นว่า ถ้าต้องการให้ดาวเทียมโคจรรอบโลกในระดับต่ำสุด (0กิโลเมตร) ได้ ดาวเทียมต้องมีความเร็ว 7.91กิโลเมตร/วินาที และสามารถโคจรรอบโลกครบ 1รอบในเวลา 1ชั่วโมง 24.3นาที แต่ที่ความสูง 161กิโลเมตรจากพื้นโลก ดาวเทียมต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.80กิโลเมตร/วินาที จึงจะโคจรรอบโลกอยู่ได้โดยไม่ตกลงมาหรือหลุดจากวงโคจรรอบโลก และจะโคจรรอบโลก 1รอบในเวลา 1ชั่วโมง 27.7นาที เป็นต้น

  8. ที่ระดับความสูง 35,880กิโลเมตร ถ้าดาวเทียมโคจรด้วยความเร็ว 3.07กิโลเมตร/วินาที จะโคจรรอบโลก 1รอบในเวลา 24ชั่วโมง ซึ่งเป็นเวลาเท่ากับที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1รอบ เรียกวงโคจรนี้ว่า วงโคจรค้างฟ้า ที่ระดับนี้ดูจากโลกเหมือนว่าดาวเทียมจะไม่เคลื่อนที่ แต่จะอยู่บนตำแหน่งเหนือพื้นโลกบริเวณนั้นตลอดเวลา แต่ถ้าต้องการให้จรวดหนีออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ จรวดจะต้องขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่มากกว่าเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น (escape velocity) ความเร็วหลุดพ้นจากโลกจะลดต่ำลง เมื่อจรวดอยู่สูงจากพื้นผิวโลก มากขึ้น

  9. ขอบคุณคับ ขอบคุณค่ะ

More Related